¥’™’∏’≠÷ñ สาธารณะ
[search 0]
เพิ่มเติม
ดาวน์โหลดแอปเลย!
show episodes
 
Artwork

1
Fatoutkey

Fatoutkey

Unsubscribe
Unsubscribe
รายเดือน
 
พี่ปุ๋มมีความหลงไหลอย่างลึกซึ้งในการศึกษา ในเรื่องของสุขภาพ การลดน้ำหนัก และ การย้อนวัย พี่ปุ๋มจึงอยากแบ่งปันความรู้ที่พี่ปุ๋มอ่านจากงานวิจัย หนังสือ และ สื่อต่างๆ นำมาเขียนเป็นบทความและไฟล์เสียงให้น้องๆฟัง ติดตามตอนต่อไปนะคะ
  continue reading
 
Artwork

1
Nerd Loyalty

Nerd Loyalty

Unsubscribe
Unsubscribe
รายวัน+
 
Nerd Loyalty needs your support! ร่วมสนับสนุนรายการพ็อดแคสต์เล็กๆ ของเราได้ที่ patreon.com/nerdloyalty ========== วิทย์ทุกที่ ดีทุกท่า บทสนทนาของเด็กเนิร์ดที่เอาเรื่องวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวันมาเล่าให้ฟัง Nerd loyalty (n) ไม่ใช่ผู้จงรักที่เนิร์ด และไม่ใช่คนเนิร์ดผู้ภักดี แต่เป็นผู้ที่จงรักภักดีในความเนิร์ด
  continue reading
 
Artwork

1
THIS PODCAST SAVED MY LIFE

Champ Teepagorn

Unsubscribe
Unsubscribe
รายเดือน
 
พอดแคสท์ว่าด้วยเรื่องชีวิตการทำงาน มิดไลฟ์ไครซิส วิกฤติวัยสามสิบ การก้าวข้ามผ่านอุปสรรคเล็กใหญ่ในทุกวัน พอดแคสท์สำหรับคนเหนื่อยๆ ที่หาคนมาร่วมเปื่อยไปด้วยกัน
  continue reading
 
Loading …
show series
 
ไลฟ์ #87: ข้อบกพร่องงานวิจัย Keto trial (Lean Mass Hyper Responder trial) วันเสาร์ 30 พ.ย. 2567เวลา 19.00 น. ความพยายามที่ Dave Feldman จะพิสูจน์ Lipid Energy Model ในกลุ่ม Lean Mass Hyper Responder Phenotypes ที่ได้รับโภชนาการแบบคีโตเป็นเวลานานแล้วทำให้ระดับ LDL-C สูงลิ่ว Triglyceride ต่ำ และ HDL-C สูงลิ่ว (Lipid Triad) ว่าไม่มีความสัมพันธ์กับการเ…
  continue reading
 
ไลฟ์ #86: N = 1 Bro Science กินไข่ 720 ฟองต่อเดือน ทำไมระดับคอเลสเตอรอลในเลือดไม่เพิ่มขึ้น 😁วันเสาร์ 23 พ.ย. 2568เวลา 19.00 น.หลังจาก N = 1 Oreo cookie ลดระดับ LDL-C ใน LMHR Phenotype ของ Nick Norwitz เขาก็สร้าง Click bait N = 1 Bro Scienceใหม่ด้วยการกินไข่ชั่วโมงละ 1 ฟองติดต่อกันเป็นเวลาหนึ่งเดือน รวมจำนวนไข่ที่เขาบริโภค 720 ฟอง 🥚🥚🥚 คอเลสเตอรอล 18…
  continue reading
 
ไลฟ์ #85: ข้อบกพร่อง Lipid Energy Model & Lean Mass Hyper Responder ของ Dave Feldmanจาก paper The Lipid Energy Model: Reimagining Lipoprotein Function in the Context of Carbohydrate-Restricted Diets ในปี 2565 Dave Feldman และคณะ ให้คำจำกัดความว่า Lean Mass Hyper Responder phenotype คือคนที่ lean BMI ต่ำ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เมื่อรับประทานไดเอ็ทที่คา…
  continue reading
 
Dr.Gil Carvalho เจ้าของช่อง Nutrition Made Simple ซึ่งเป็นช่องยูทูปสุขภาพที่พี่ปุ๋มแนะนำน้องๆให้ติดตามเป็นอย่างยิ่ง เพราะข้อมูลสุขภาพที่นำมาเผยแพร่นั้นเป็น evidence based data ที่มีคุณภาพและค่อนข้างเป็นเอกฉันท์จากหน่วยงานสาธารณสุขทั่วโลกเขาได้รับคำถามจากสมาชิกช่อง ขอให้สร้างความกระจ่างกับวิดีโอจากช่องยูทูปของ Dr.Ken Berry ว่ามีหลักฐานทางงานวิจัยสนั…
  continue reading
 
ตอกย้ำกันอีกครั้งว่าการปล่อยให้ LDL-C มีระดับสูง x เวลาที่ปล่อยให้ LDL-C มีระดับสูง คือต้นเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน พี่ปุ๋มตื่นเต้นมาก ที่ได้เห็นบทความของเทพทางด้านหทัยวิทยาทั้ง 3 คน คือ Prof.Brian A. Ference, Prof.Eugene Braunwald (หนึ่งในบิดาของหทัยวิทยา ผู้ซึ่งคือ Editor textbook Braunwald's Heart Disease: A Textbook of Cardiovascular Medic…
  continue reading
 
ไลฟ์# 83: สรุปงานวิจัยมากกว่า 40 ฉบับว่า Time Restricted Eating มีผลต่อการลดน้ำหนัก มวลไขมัน visceral fat และ ไขมันพอกตับอย่างไร เมื่อเทียบกับการจำกัดแคลอรี่ในช่วง 10 กว่าปีที่ผ่านมา พวกเราได้ยิน ได้อ่านบทความสุขภาพเกี่ยวกับประโยชน์ของการกินแบบจำกัดช่วงเวลา (Time Restricted Eating-TRE) หรืออีกชื่อหนึ่งที่เราคุ้นเคยกันมากกว่าว่า การหยุดกินเป็นช่วงเว…
  continue reading
 
หนึ่งในงานวิจัยที่สำคัญและมีอิทธิพลใน Nutrition Science ก็คืองานวิจัยของ Ancel Keys และคณะ The Seven Countries Study (SCS) ซึ่งเป็น observational cohort study เริ่มต้นในปีค.ศ.1957 เพื่อสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างไลฟ์สไตล์ biomarkers และโรคหัวใจSCS เป็นโครงการระดับอภิมหาโปรเจคซึ่งต้องการความร่วมมือระหว่างนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลก…
  continue reading
 
ในท่ามกลางกระแสการใช้เรื่องเล่าและหลักฐานงานวิจัยที่ไม่มีคุณภาพ เพื่อทำให้สารอาหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นผู้ร้ายนั้น มีมานานตลอด 70 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน โดยเฉพาะเมื่อมีการใช้แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียกันอย่างกว้างขวาง ทำให้การแพร่กระจายข้อมูลผิดๆเป็นไปได้ง่ายและรวดเร็วหนึ่งในเรื่อง Top Hit ที่มีการแพร่กระจายข้อมูลกันอย่างผิดๆทางโซเชีย…
  continue reading
 
ในท่ามกลางกระแสการใช้เรื่องเล่าและหลักฐานงานวิจัยที่ไม่มีคุณภาพ เพื่อทำให้สารอาหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นผู้ร้ายนั้น มีมานานตลอด 70 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ไขมัน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน โดยเฉพาะเมื่อมีการใช้แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียกันอย่างกว้างขวาง ทำให้การแพร่กระจายข้อมูลผิดๆเป็นไปได้ง่ายและรวดเร็วหนึ่งในเรื่อง Top Hit ที่มีการแพร่กระจายข้อมูลกันอย่างผิดๆทางโซเชีย…
  continue reading
 
พบกับไลฟ์#78: คุณภาพของไขมันในอาหารส่งผลกระทบต่อการเป็นต้นเหตุของการความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันหรือไม่วันพฤหัสบดี 20 มิ.ย.เวลา 20.00 น.ในท่ามกลางข้อมูลขัดแย้งที่ปรากฏอยู่ในโซเชียลมีเดียต่อคำถามที่ว่า คุณภาพของไขมันในอาหารส่งผลกระทบต่อการเป็นต้นเหตุของการเพิ่มความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจหรือไม่ ถือเป็นหัวข้อที่มีงานวิจัยและมีการดีเบตกันอย่างกว้…
  continue reading
 
ไลฟ์ #77: สรุปหนังสือ Why We Die: The Science of Aging and The Quest For Immortalityผู้เขียน Prof. Venki Ramakrishnan ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาเคมี ในปี พ.ศ.2552 ร่วมกับ Thomas A Steitz และ Ada E. Yonath สำหรับการศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของไรโบโซม ซึ่งทำหน้าที่ในการอ่านข้อมูลทางพันธุกรรมเพื่อสร้างโปรตีนที่ถูกระบุ ไรโบโซมมีความซับซ้อนเชิงระดับโมเลกุลเ…
  continue reading
 
Prof. Venki Ramakrishnan ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาเคมี ในปี พ.ศ.2552 ร่วมกับ Thomas A Steitz และ Ada E. Yonath สำหรับการศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของไรโบโซม ซึ่งทำหน้าที่ในการอ่านข้อมูลทางพันธุกรรมเพื่อสร้างโปรตีนที่ถูกระบุ ไรโบโซมมีความซับซ้อนเชิงระดับโมเลกุลเพราะมีราวห้าแสนอะตอมที่ประกอบเป็นไรโบโซมProf.Venki ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มวิจัยชีววิทยาโมเลกุ…
  continue reading
 
ไลฟ์ #75: The Cholesterol Wars หนังสือ และงานวิจัยของ Prof. Daniel Steinberg MD, PhD จำนวน 5 ฉบับ (ตอนจบ)หลังจากที่พฤติกรรมของคนทั่วโลกเปลี่ยนเป็นเสพข้อมูลเกือบทุกประเภทผ่านทางโซเชียลมีเดีย การให้ข้อมูลที่ผิดจากการไม่รู้จริง (Misinformation) และ การจงใจบิดเบือนข้อมูล (Disinformation) กลายเป็นอันตรายอันดับที่ 2 ใน 2 ปีข้างหน้า จากรายงานของ World Eco…
  continue reading
 
ไลฟ์ #74: The Cholesterol Wars สรุปหนังสือ และงานวิจัยของ Prof.Daniel Steinberg MD, PhD จำนวน 5 ฉบับ (ตอนที่ 1)หลังจากที่พฤติกรรมของคนทั่วโลกเปลี่ยนเป็นเสพข้อมูลเกือบทุกประเภทผ่านทางโซเชียลมีเดีย การให้ข้อมูลที่ผิดจากการไม่รู้จริง (Misinformation) และ การจงใจบิดเบือนข้อมูล (Disinformation) กลายเป็นอันตรายอันดับที่ 2 ใน 2 ปีข้างหน้า จากรายงานของ Wor…
  continue reading
 
ไลฟ์#73: 20 คำถามเกี่ยวกับ Atherosclerosis วันอาทิตย์ 14 เม.ย.2567 เวลา 20.00 น. เมื่อสองสามวันที่แล้วใน Twitter ก็มีการวิวาทะระหว่างกลุ่มที่เชื่อว่าโดยวิวัฒนาการแล้ว อาหารที่มีเนื้อสัตว์ ไขมันเป็นหลัก (Carnivore diet) เป็นอาหารที่เหมาะสมที่สุดสำหรับมนุษย์ และ คอเลสเตอรอลไม่ได้ทำให้เกิด Atherosclerosis ไม่เช่นนั้น สิงโต หรือสัตว์ที่เป็น carnivore ก…
  continue reading
 
ไลฟ์#72 : สรุปเล็คเชอร์ The Evolving Narrative of HDL-Cหลังจากความล้มเหลวของงานวิจัยยา CSL112 ของบริษัท biotech CSL Behring ซึ่งเป็น Human Apolipoprotein A1 (apolipoprotein สำคัญบน HDL Particle) CSL112 ทำหน้าที่ผลักคอเลสเตอรอลออกจาก macrophage ของ plaque หลอดเลือด (Cholesterol Efflux Enhancer) และส่งเสริมเอ็นไซม์ LCAT ซึ่งหน้าที่สำคัญนี้ของ Apolipo…
  continue reading
 
Joe Rogan Experience #1267: Debate ระหว่าง Gary Taubes vs Stephan Guyenetเมื่อวันที่ 19 มี.ค.พ.ศ.2562 หลังจากพี่ปุ๋มเปิดเพจมาได้ 1 ปีกับ 3 เดือน ยังคงเชื่อใน Carbohydrate Insulin Model of Obesity (CIM) สุดจิตสุดใจว่า ฮอร์โมนอินซูลินเป็นตัวการที่ทำให้มนุษย์บนโลกนี้อ้วน คาร์โบไฮเดรตเลวร้าย บูชา Gary Taubes, Jason Fung ประดุจพระเจ้า😅…พี่ทราบข่าวว่า Ga…
  continue reading
 
ไลฟ์ซีรีส์สรุปงานวิจัยครั้งที่ 24: Progression of Early Subclinical Atherosclerosis (PESA) Studyจากไลฟ์# 70: ข้อบกพร่องของงานวิจัย Lean Mass Hyper Responder โดย Dave Feldman พี่ปุ๋มแจ้งน้องๆในตอนท้ายของไลฟ์ว่า จะนำงานวิจัยสำคัญมาก 3 ฉบับมาสรุปต่อ ซึ่งทั้ง 3 ฉบับคือ1. Progression of Early Subclinical Atherosclerosis (PESA) Study2. Coronary Artery Ri…
  continue reading
 
พบกับ ไลฟ์#70: ข้อบกพร่องของงานวิจัยแบบ Observational ล่าสุด Lean Mass Hyper Responder ของ Dave Feldman ลัดคิวไลฟ์เรื่องน่าสนใจที่พี่ปุ๋มเตรียมไว้หลายเรื่องเลยค่ะ เพื่อมาทำไลฟ์เรื่องนี้ก่อนเลย เนื่องจากเก็บข้อมูลได้ดีมากพอเป็นเรียบร้อยแล้ว และคิดว่าน่าจะเป็นเรื่องที่น้องๆให้ความสนใจกัน ขอเวลาพี่ทำสไลด์ 1 วันค่ะ เราจะใช้ Evidence Based Medicine เป็น…
  continue reading
 
ไลฟ์ #69: โภชนาการเพื่อลดระดับ Apo B👩🏻‍💻 จากไลฟ์#68 lipoproteins ที่ก่อให้เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน คือ lipoproteins ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่ำกว่า 70 นาโนเมตร และมี Apolipoprotein B อยู่บน particles (Apo B containing lipoprotein particles) ซึ่งได้แก่ Chylomicron remnants, VLDL remnants, IDL, LDL และ Lp(a) มีแฟนเพจท่านหนึ่งถามมาในคอมเมนท์ว่า มีวิธ…
  continue reading
 
ไลฟ์#68: Lipoprotein particles ชนิดใดบ้างที่อันตรายต่อหลอดเลือดหัวใจน้องๆมักจะได้ยิน กูรูสุขภาพ เตือนให้เราระวังอันตรายจาก small dense ldl particle บอกว่าเป็น ldl particle ที่เป็นอันตรายต่อหลอดเลือดหัวใจ การเปลี่ยนมากินอาหารแบบคาร์บต่ำไขมันสูง จะทำให้ ldl-particle มีขนาดใหญ่ ไม่เป็นอันตรายต่อหลอดเลือดหัวใจ และให้เราสนใจสัดส่วน TG/HDL ถ้าใกล้เคียง 1…
  continue reading
 
ไลฟ์ #67 การออกกำลังกายแบบแอโรบิค vs การออกกำลังกายแบบมีแรงต้าน ควรออกกำลังกายแบบไหนถึงลดความเสี่ยงการเสียชีวิตจากโรคต่างๆได้ดีที่สุดองค์การอนามัยโลกได้ออกคำแนะนำเรื่องการมีกิจกรรมทางกายกับประชาชน เพื่อนำไปสู่ความมีสุขภาพดีและลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตด้วยโรคต่างๆโดยแนะนำให้ออกกำลังกายแบบแอโรบิคที่มีความหนักปานกลาง 150-300 นาที หรือออกกำลังกายแบบแ…
  continue reading
 
กรดไขมันอิ่มตัวมีกลไกเพิ่มระดับ LDL-Cholesterol ได้อย่างไรEuropean Society of Cardiology ได้ออกคำแนะนำในการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจปี พ.ศ. 2564: 2021 ESC Guidelines on cardiovascular disease prevention in clinical practice ในส่วนของโภชนาการ แนะนำให้บริโภคกรดไขมันอิ่มตัวไม่เกิน 10% ของพลังงานทั้งหมดที่บริโภคต่อวันในไลฟ์#66 นี้ พี่ปุ๋มได้งานวิจัยที่ด…
  continue reading
 
ช่วงนี้ Dr.mario Kratz PhD. ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ Nourished by Science ทำวิดีโอให้ความรุู้ดีๆเกี่ยวกับภาวะดื้อต่ออินซูลินติดกันหลายเรื่อง ล่าสุดวันนี้สดๆร้อนๆ เมื่อ 16 ช.ม.ที่ผ่านมา เขาได้ upload vdo ล่าสุดเรื่อง Do Carbs Cause Insulin Resistance? ซึ่งให้ความกระจ่างในเรื่องนี้ผ่านงานวิจัยที่มีคุณภาพหลายฉบับ พี่ปุ๋มจึงคิดว่ามันจะเป็นประโยชน์ที่…
  continue reading
 
หลังจากจบตอนที่ 1 ของหัวข้อนี้ น้องๆได้ความเข้าใจเรื่องความเกี่ยวพันระหว่างดัชนีมวลกายกับเบาหวานประเภทที่ 2 รับทราบว่าการได้รับพลังงานล้นเกิน ในคนที่มีระดับเพดานกักเก็บไขมันใต้ชั้นผิวหนังต่ำ (Personal Fat Threshold) อาจเป็นต้นกำเนิดของเบาหวานประเภทที่ 2 ในตอนจบนี้พี่ปุ๋มจะนำเอางานวิจัยที่สำคัญของ Prof.Roy Taylor ศาสตราจารย์ด้านอายุรศาสตร์และเมตาบอล…
  continue reading
 
พี่ปุ๋มเพิ่งได้งานวิจัยฉบับล่าสุด ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2566 สดๆร้อนๆเลย ที่ทดสอบ Personal Fat Threshold กับการเป็นต้นกำเนิดของภาวะดื้อต่ออินซูลิน ในกลุ่มคนที่มีเบาหวานประเภทที่ 2 แต่ค่าดัชนีมวลกายปรกติ น่าสนใจมากๆค่ะ พี่ปุ๋มจึงอยากจะทำไลฟ์#63 สรุปความเข้าใจเรื่อง Personal Fat Threshold กับความเกี่ยวพันภาวะดื้อต่ออินซูลิน…
  continue reading
 
📢 พบกับไลฟ์#62 : Red Pen Reviews ได้ทำการรีวิวหนังสือเล่มที่ 21 ซึ่งเป็นหนังสือติด Top 3 ที่มีคนขอให้ Red Pen Reviews รีวิวมากที่สุด เมื่อครั้งที่ RPR ทำกิจกรรม Fund Raiser เมื่อปลายปี 2565 หนังสือ The Art and Science of Low Carb Living เขียนโดย Jeff Volek และ Stephen Phinney ซึ่งถือได้ว่าเป็น Godfathers ของโภชนาการแบบ ketogenic diet เลย พี่ปุ๋มจะส…
  continue reading
 
ประชากรโลกอายุยืนยาวขึ้นเพราะความก้าวหน้าทางสาธารณสุข ยา และเทคโนโลยีการแพทย์ก็จริง แต่กลับพบว่ามีระบาดวิทยาของกลุ่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจทั้งที่แสดงอาการและไม่แสดงอาการเพิ่มขึ้น ไลฟ์#61 นี้มารีวิวงานวิจัยที่กำลังจะตีพิมพ์ในวารสาร JACC ในเดือน ก.ย. 2566 ถึงปัจจัยที่สำคัญยิ่ง 8 ประการ ซึ่งเชื่อมโยงกับ 9 Hallmarks of Aging ที่จะช่วยให้ท่านเข้าสู่วัยส…
  continue reading
 
ซีรีส์สรุปงานวิจัย ครั้งที่ 23 “การจัดลำดับ Dietary patterns 10 ชนิดที่ได้รับความนิยม ตามคะแนนความสอดคล้องกับ American Heart Association 2021 Dietary Guidance”📃 ในปี 2021 American Heart Association (AHA) ได้ออก Scientific Statement หลักการสำคัญทางด้านโภชนาการที่ดีต่อสุขภาพหัวใจ นำไปสู่ Dietary, Pattern ที่ได้รับความนิยม 10 ชนิดที่มีการนำมาใช้ปฏิบัต…
  continue reading
 
😬 ทุกครั้งที่เราพยายามลดน้ำหนัก ร่างกายตอบโต้ทั้งฝั่ง Energy Intake และฝั่ง Energy Expenditure เพื่อดึงเรากลับไปที่น้ำหนักตั้งค่าใหม่ ซึ่งก็คือน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นจากน้ำหนักตั้งค่าเดิม 📃 งานวิจัยที่ดีมากของ Pollidori et al. ที่พี่ปุ๋มเคยเขียนสรุปโพสต์ไปเมื่อ 2 ปีก่อน เราพบว่า ทุกครั้งที่ลดน้ำหนัก ร่างกายจะตอบโต้ฝั่ง Energy Intake ด้วยการเพิ่มความอยา…
  continue reading
 
👩‍💼 ช่วงนี้พี่รับมือจัดการกับอาการบาดเจ็บที่ไหล่ หน้าอก สะบักหลัง จากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นก่อนสงกรานต์ กินยา ทำกายภาพรัวๆ อาการดีขึ้นช้าๆๆ ยังยกแขนขึ้นทางด้านข้างไม่ได้ แต่ขึ้นด้านหน้าพอได้ แล้วมันมีอาการร้อนที่ผิวตลอดเวลา ประคบเย็น ทาน้ำมัน นวดทุกวัน น้องมิลค์นักกายภาพซึ่งเก่งมากบอกว่า จิ้มไปตรงไหนก็เจออาการบาดเจ็บทั้งเส้นเอ็นและกล้ามเนื้อที่พร้อม…
  continue reading
 
👨‍⚕️ จากวิดีโอเล็คเชอร์ชื่อ LDL-C Cumulative Exposure Hypothesis of ASCVD โดย Prof.Brian A Ference ซึ่งเป็นเล็คเชอร์เดียวของเขาที่พี่หาเจอใน Youtube และเป็นเล็คเชอร์ดีสุดๆ ที่บอกให้รู้ว่าไม่เพียงแค่ระดับ ldl-c ที่เราปล่อยให้สูงเกินระดับทางสรีรวิทยา (40 มก/ดล) มากเท่าไหร่เท่านั้น (Magnitude) แต่รวมถึงระยะเวลาที่เราปล่อยให้ระดับสูงเกินกว่าระดับสรีรวิ…
  continue reading
 
👩‍💼ภารกิจที่พี่ปุ๋มตั้งใจทำ แม้ว่ามันจะใช้พลังงานกาย ใจ เงิน ในการทำไลฟ์แต่ละครั้งก็ตามคือ นำข้อมูลสุขภาพจากงานวิจัยที่มีคุณภาพมาย่อยให้น้องๆได้ฟัง/ชมกัน มีข้อมูลสุขภาพหลายเรื่องที่แพร่กระจายอย่างผิดๆอยู่บนโซเชียลมีเดีย เรื่องที่พี่ปุ๋มให้ความสำคัญมากเรื่องหนึ่ง นอกเหนือไปจากความเข้าใจผิดว่า “ฮอร์โมนอินซูลินทำให้เราอ้วน ดังนั้นการตัดคาร์โบไฮเดรตออก…
  continue reading
 
📃 มีงานวิจัยทำในประเทศเดนมาร์กชื่อ “Association between low density lipoprotein and all cause and cause specific mortality in Denmark: prospective cohort study” ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ British Medical Journal เมื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2563 ซึ่งเป็น prospective cohort study ศึกษาประชากรเดนมาร์กอายุ 20-100 ปี ที่ recruit ในช่วงปีพ.ศ. 2546-2558 จำนวน 108,…
  continue reading
 
👨‍⚕️ ในงานวิจัยสาขา Obesity พี่ว่าน้อยคนมากที่จะไม่รู้จัก Dr.Kevin D. Hall Ph.D. เขาดำรงตำแหน่ง Section Chief: Physiology Section, Laboratory of Biomedical Modeling ที่ National Institute of Diabetes and Digestive and Kidney Disesses (NIDDK) ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ National Institutes of Health (NIH) 🧪 งานวิจัยจากห้องแล็ปของเขามุ่งสำรวจว่า ระบบเมตาบ…
  continue reading
 
Prof.Thomas Dayspring M.D., FACP, FNLA เป็น Clinical lipidologist คนสำคัญที่มีความรู้และความเข้าใจคอเลสเตอรอลที่ร่างกายผลิตกับผลกระทบต่อสุขภาพหัวใจ เขาทั้งทำงานวิจัยและเขียน textbook เกี่ยวกับคอเลสเตอรอลมานานกว่า 30 ปี ที่พี่ปุ๋มประทับใจมากคือ เขาอายุ 77 ปีแล้วแต่ยังกระฉับกระเฉง เต็มไปด้วยพลังงาน เลคเชอร์ฟังเข้าใจง่าย สนุก ตื่นเต้น เห็นภาพ เขาเพิ่ง…
  continue reading
 
Prof.Thomas Dayspring M.D., FACP, FNLA เป็น Clinical lipidologist คนสำคัญที่มีความรู้และความเข้าใจคอเลสเตอรอลที่ร่างกายผลิตกับผลกระทบต่อสุขภาพหัวใจ เขาทั้งทำงานวิจัยและเขียน textbook เกี่ยวกับคอเลสเตอรอลมานานกว่า 30 ปี เขาเพิ่งเลคเชอร์เรียกได้ว่าเป็น Cholesterol Masterclass 4 ตอน ในช่องยูทูป Foolproof Mastery เนื้อหาดีมาก ครอบคลุมความเข้าใจเรื่องกา…
  continue reading
 
พบกับไลฟ์ #56 Red Pen Reviews มีกระบวนการรีวิวหนังสือ Why We Get Sick: The Hidden Epidemic at the Root of Most Chronic Disease--and How to Fight It เขียนโดย Dr.Benjamin Bikman อย่างไร วันพุธ 11 ม.ค. 2566 เวลา 20.00 น. ✅ หลังจากที่พี่ปุ๋มได้แนะนำองค์กรไม่แสวงหากำไรชื่อ Red Pen Reviews ซึ่งทำหน้าที่ในการรีวิวความน่าเชื่อถือของข้อมูลในหนังสือสุขภาพที่…
  continue reading
 
👨‍💼 Prof. David Raubenheimer ดำรงตำแหน่ง Professor of Nutritional Ecology, Leonard P Ullmann Chair in Nutritional Ecology School of Life and Environmental Sciences เขาเป็นผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในเรื่อง Nutritional Ecology ซึ่งศึกษาว่าสภาวะสิ่งแวดล้อมทางด้านโภชนาการที่สัตว์เผชิญ ทำให้ระบบชีววิทยาของสัตว์สร้างการตอบสนองอย่างไรเพื่อธำรงสุขภาพและสมรรถนะทาง…
  continue reading
 
🎥 ในงาน Causes of obesity: theories, conjectures and evidence จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17-19 ต.ค.2565 ที่ The Royal Society, London UK เป็นการประชุมที่รวมนักวิจัยระดับท็อปด้านความอ้วน มาแลกเปลี่ยน/update ข้อมูลงานวิจัยล่าสุดใน area ของ Obesity research 👩🏻‍💻 พี่โชคดี ลงทะเบียนฟรีเข้าไปฟัง online ร่วมกับผู้คนทั่วโลก 1,300 คน ทั้ง 3 วัน และพี่ก็ตั้งใจไว้แล้…
  continue reading
 
vdo series สรุปงานวิจัยครังที่ 18: Optimal Diets for Prevention of Coronary Heart Disease ของ Frank B. Hu แพทย์และนักระบาดวิทยา นักโภชนาการระดับโลก งานวิจัยของ Hu ได้รับการอ้างอิงในงานวิจัยอื่น 433,043 ครั้ง h-idex 294, i-10 index 1,352 พี่ว่าในชีวิตพี่ก็ไม่เคยเจอนักวิจัยในสาขา diet and Nutrition ที่ Citation สูงขนาดนี้มาก่อน Prof.Hu ทำงานวิจัยในสา…
  continue reading
 
👩🏻‍💻 ห่างหายจากการทำไลฟ์ไปเดือนกว่าเลยค่ะ ตอนนี้จบภารกิจงานสำหรับปีนี้เป็นพี่เรียบร้อย พร้อมกับยังอยู่รอดปลอดโควิด ทั้งๆที่ในรอบ 1.5 เดือนที่ผ่านมา พี่ทำใจไว้ละ เพราะทำงานนอกบ้านเกือบทุกวัน พบเจอผู้คนมากมาย เปิดมาส์กทานข้าว ที่สำคัญแม่บ้านติดโควิดมาเสิรฟข้าวพี่บนห้องทุกวัน พี่ก็ยังอยู่รอดปลอดภัย (ไขว้นิ้ว) 🎧 กลับมากับไลฟ์ #53 ระบบควบคุมภาวะธำรงดุลข…
  continue reading
 
👩🏻‍💻 พี่ปุ๋มได้ทำ vdo สรุปงานวิจัย เกี่ยวกับบทความเรื่อง Thirty Obesity Myths, Misunderstandings, and/or Oversimplifications: An Obesity Medicine Association (OMA) Clinical Practice Statement (CPS) 2022 ตีพิมพ์ในวารสาร Obesity Pillars ของ Obesity Medicine Association เมื่อเดือน ส.ค. ทึ่ผ่านมา ซึ่งวัตถุประสงค์ของบทความ เพื่อให้ Clinical Practice Gui…
  continue reading
 
👩🏻‍💻 พี่ได้ทำ vdo สรุปงานวิจัยครั้งที่ 15 ไปแล้ว 1 ตอนเกี่ยวกับบทความเรื่อง Thirty Obesity Myths, Misunderstandings, and/or Oversimplifications: An Obesity Medicine Association (OMA) Clinical Practice Statement (CPS) 2022 ตีพิมพ์ในวารสาร Obesity Pillars ของสมาคมฯ เมื่อเดือน ส.ค. ทึ่ผ่านมา ซึ่งวัตถุประสงค์ของบทความ เพื่อให้ Clinical Practice Guideli…
  continue reading
 
พี่ได้บทความรีวิวเรื่องความเข้าใจผิดเกี่ยวกับความอ้วน 30 ประการ ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ที่เฉพาะสำหรับความอ้วนของสหรัฐอเมริกาล่าสุดเดือน ส.ค. 2565 มา 1 ฉบับ ที่อธิบายความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง หรือความเข้าใจผิดเกี่ยวกับความอ้วนทั้งหมด 30 ข้อ แต่ละข้อสอดแทรกงานวิจัยรองรับ เนื้อหาทั้งหมดเกือบ 30 หน้า จึงต้องแบ่งเป็น 3 ตอนค่ะ พี่เชื่อว่าข้อมูลจะเป็นรากฐ…
  continue reading
 
🏅 หลังจาก Jeffrey C. Hall, Michael Robash และ Michael W. Young ได้รับรางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ในปี พ.ศ. 2560 จากการค้นพบกลไกระดับโมเลกุลที่ควบคุมนาฬิกาชีวภาพประจำเซลล์ ศาสตร์ชีววิทยาตามนาฬิกาชีวภาพ (Chronobiology) เริ่มได้รับความสนใจในการนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะในเรื่องการกิน นอน ออกกำลังกาย 📃 มีสุภาษิตที่กล่าวว่า กินมื้…
  continue reading
 
📃 มีข้อมูลจากงานวิจัยแบบ meta-analysis ที่แสดงว่าการออกกำลังกายร่วมกับการจำกัดแคลอรี่ ช่วยสนับสนุนการลดน้ำหนักระยะยาวได้ดีกว่าการจำกัดแคลอรี่หรือออกกำลังกายแต่เพียงอย่างเดียว ⏰ แต่การจำกัดแคลอรี่ ร่วมกับการออกกำลังกายแบบแอโรบิกในขณะที่หยุดกินอาหารมาตลอดทั้งคืน จะช่วยเร่งการเผาผลาญไขมัน ลดน้ำหนักได้ดีกว่า การจำกัดแคลอรี่ ร่วมกับการออกกำลังกายหลังจาก…
  continue reading
 
👨‍🔬 หลังจาก Lopez-Otin และคณะได้นำเสนอ The Hallmarks of Aging 9 ประการ ตีพิมพ์ลงในวารสารทางการแพทย์ Cell เมื่อวันที่ 6 มิ.ย. 2556 จนถึงปัจจุบันได้รับการอ้างอิงไปราว 10281 ครั้งนั้น ทำให้นักวิทยาศาสตร์สุขภาพที่สนใจในเรื่องกระบวนการแก่ชรา ได้มีกรอบความคิดในการวางสมมุติฐาน และสร้างความก้าวหน้าในงานวิจัยสาขาชีววิทยาแห่งความแก่ชราเป็นอย่างมาก 📌 หมายเหตุ…
  continue reading
 
👩🏻‍💻 จากวิดีโอซีรีส์สรุปงานวิจัยครั้งที่ 8 เรื่องแนวทางโภชนาการเพื่อส่งเสริมสุขภาพหลอดเลือดหัวใจของสมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา (AHA) ประจำปี 2564 (2021 Dietary Guidance to Improve Cardiovascular Health: A Scientific Statement From the American Heart Association) ที่พี่ปุ๋มได้ทำไปเมื่อวันที่ 11 ก.ค. ซึ่งระบุชัดเจนเรื่องลดการบริโภคไขมันอิ่มตัว…
  continue reading
 
👩🏻‍💻 พี่ปุ๋มติดตาม Prof. Gerald I Shulman มาได้ประมาณ 2 ปีหลังจากอ่านหนังสือ Life Without Diabetes: The Definitive Guide to Understanding And Reversing Type 2 Diabetes เขียนโดย Prof. Roy Taylor เล่มนี้พี่แนะนำเลยค่ะ สำหรับผู้ที่อยากทำความเข้าใจโรคเบาหวานอย่างถูกต้อง อ่านไม่ยากค่ะ 🔬 สิ่งที่เป็นความ amazing ของงานวิจัยที่ Prof. Gerald I. Shulman ศึกษ…
  continue reading
 
Loading …

คู่มืออ้างอิงด่วน

ฟังรายการนี้ในขณะที่คุณสำรวจ
เล่น