ออฟไลน์ด้วยแอป Player FM !
พอดคาสต์ที่ควรค่าแก่การฟัง
สปอนเซอร์
ระบบควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล
Manage episode 348315975 series 3233261
👩🏻💻 ห่างหายจากการทำไลฟ์ไปเดือนกว่าเลยค่ะ ตอนนี้จบภารกิจงานสำหรับปีนี้เป็นพี่เรียบร้อย พร้อมกับยังอยู่รอดปลอดโควิด ทั้งๆที่ในรอบ 1.5 เดือนที่ผ่านมา พี่ทำใจไว้ละ เพราะทำงานนอกบ้านเกือบทุกวัน พบเจอผู้คนมากมาย เปิดมาส์กทานข้าว ที่สำคัญแม่บ้านติดโควิดมาเสิรฟข้าวพี่บนห้องทุกวัน พี่ก็ยังอยู่รอดปลอดภัย (ไขว้นิ้ว)
🎧 กลับมากับไลฟ์ #53 ระบบควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล ทำไมเรื่องนี้สำคัญ และพี่อยากทำไลฟ์มาก ก็เพราะพี่เองก็เคยมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องคอเลสเตอรอลหลายข้อทีเดียวค่ะ ซึ่งพี่เห็นว่าถึงเวลาที่ต้องอ่านงานวิจัยเพื่อเคลียร์ความเข้าใจผิดเหล่านี้กันเสียที เช่น
1. คอเลสเตอรอลสร้างจากที่ไหนในร่างกายบ้าง เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไรระหว่าง สร้างจากตับ (hepataic synthesis) vs สร้างจากทางเดินอาหาร (intestinal synthesis) vs สร้างจากอวัยวะอื่นนอกเหนือจากตับ (extrahepatic synthesis) แค่เรื่องนี้เรื่องเดียว กับ diagram 1 รูปจากงานวิจัยดีมาก 1 ฉบับพี่ว่าน้องจะกระจ่างในข้อสงสัยหลายเรื่องเลยค่ะ งานวิจัยที่พี่อ่านจบไปแล้ว 2 ฉบับดีมากๆ
2. คอเลสเตอรอลจากอาหาร มีผลกระทบต่อคอเลสเตอรอลในเลือดหรือไม่อย่างไร ทำไมบางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลปรกติ ในขณะที่บางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลในเลือดขยับขึ้น งานวิจัยที่ไขข้อข้องใจนี้รวมถึงฟังเลคเชอร์ของ Prof.Thomas Dayspring ก็กระจ่างมากเลยค่ะ
3. ทำไมตับจึงมีความสำคัญต่อการควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล โดยเฉพาะการควบคุมสมดุล LDL-Cholesterol ในเลือด ซึ่งเราจะต้องให้ความสนใจมาก เพราะมีผลต่อการเพิ่มหรือลดความเสี่ยงของ Atherosclerotic Coronary Artery Disease (ASCVD) มีปัจจัยอะไรบ้างที่กระทบการควบคุมสมดุลนี้
4. การลดระดับ LDL-Cholesterol ให้ต่ำที่ระดับ 70 มก/ดล หรือต่ำกว่าด้วยยา ในคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อ ASCVD เป็นอันตรายเนื่องจากไปลดการ supply คอเลสเตอรอลให้อวัยวะต่างๆจริงหรือไม่
5. ถ้าเราไม่บริโภคคอเลสเตอรอลเลย เป็นอันตรายต่อการสร้างคอเลสเตอรอลภายในร่างกายหรือไม่
📌 แค่ 5 หัวข้อนี้ พี่ว่าจะทำให้น้องๆเข้าใจคอเลสเตอรอลดีขึ้น พี่จะใช้ข้อมูลจาก textbook Teherapeutic Lipidology 2nd Edition เป็นหลัก เสริมด้วยงานวิจัยที่น่าสนใจสักจำนวนหนึ่ง
131 ตอน
Manage episode 348315975 series 3233261
👩🏻💻 ห่างหายจากการทำไลฟ์ไปเดือนกว่าเลยค่ะ ตอนนี้จบภารกิจงานสำหรับปีนี้เป็นพี่เรียบร้อย พร้อมกับยังอยู่รอดปลอดโควิด ทั้งๆที่ในรอบ 1.5 เดือนที่ผ่านมา พี่ทำใจไว้ละ เพราะทำงานนอกบ้านเกือบทุกวัน พบเจอผู้คนมากมาย เปิดมาส์กทานข้าว ที่สำคัญแม่บ้านติดโควิดมาเสิรฟข้าวพี่บนห้องทุกวัน พี่ก็ยังอยู่รอดปลอดภัย (ไขว้นิ้ว)
🎧 กลับมากับไลฟ์ #53 ระบบควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล ทำไมเรื่องนี้สำคัญ และพี่อยากทำไลฟ์มาก ก็เพราะพี่เองก็เคยมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องคอเลสเตอรอลหลายข้อทีเดียวค่ะ ซึ่งพี่เห็นว่าถึงเวลาที่ต้องอ่านงานวิจัยเพื่อเคลียร์ความเข้าใจผิดเหล่านี้กันเสียที เช่น
1. คอเลสเตอรอลสร้างจากที่ไหนในร่างกายบ้าง เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไรระหว่าง สร้างจากตับ (hepataic synthesis) vs สร้างจากทางเดินอาหาร (intestinal synthesis) vs สร้างจากอวัยวะอื่นนอกเหนือจากตับ (extrahepatic synthesis) แค่เรื่องนี้เรื่องเดียว กับ diagram 1 รูปจากงานวิจัยดีมาก 1 ฉบับพี่ว่าน้องจะกระจ่างในข้อสงสัยหลายเรื่องเลยค่ะ งานวิจัยที่พี่อ่านจบไปแล้ว 2 ฉบับดีมากๆ
2. คอเลสเตอรอลจากอาหาร มีผลกระทบต่อคอเลสเตอรอลในเลือดหรือไม่อย่างไร ทำไมบางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลปรกติ ในขณะที่บางคนกินไข่แล้วระดับคอเลสเตอรอลในเลือดขยับขึ้น งานวิจัยที่ไขข้อข้องใจนี้รวมถึงฟังเลคเชอร์ของ Prof.Thomas Dayspring ก็กระจ่างมากเลยค่ะ
3. ทำไมตับจึงมีความสำคัญต่อการควบคุมภาวะธำรงดุลของคอเลสเตอรอล โดยเฉพาะการควบคุมสมดุล LDL-Cholesterol ในเลือด ซึ่งเราจะต้องให้ความสนใจมาก เพราะมีผลต่อการเพิ่มหรือลดความเสี่ยงของ Atherosclerotic Coronary Artery Disease (ASCVD) มีปัจจัยอะไรบ้างที่กระทบการควบคุมสมดุลนี้
4. การลดระดับ LDL-Cholesterol ให้ต่ำที่ระดับ 70 มก/ดล หรือต่ำกว่าด้วยยา ในคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อ ASCVD เป็นอันตรายเนื่องจากไปลดการ supply คอเลสเตอรอลให้อวัยวะต่างๆจริงหรือไม่
5. ถ้าเราไม่บริโภคคอเลสเตอรอลเลย เป็นอันตรายต่อการสร้างคอเลสเตอรอลภายในร่างกายหรือไม่
📌 แค่ 5 หัวข้อนี้ พี่ว่าจะทำให้น้องๆเข้าใจคอเลสเตอรอลดีขึ้น พี่จะใช้ข้อมูลจาก textbook Teherapeutic Lipidology 2nd Edition เป็นหลัก เสริมด้วยงานวิจัยที่น่าสนใจสักจำนวนหนึ่ง
131 ตอน
ทุกตอน
×
1 ข้อบกพร่องงานวิจัย Keto trial (Lean Mass Hyper Responder trial) (Live87) 1:26:29

1 N = 1 Bro Science กินไข่ 720 ฟองต่อเดือน ทำไมระดับคอเลสเตอรอลในเลือดไม่เพิ่มขึ้น? (Live86) 1:15:48

1 ข้อบกพร่อง Lipid Energy Model & Lean Mass Hyper Responder ของ Dave Feldman (Live85) 1:34:31

1 สรุปดีเบทระหว่าง Dr.Gil Carvalho vs Dr.Ken Berry “Oat เป็นอาหารที่อันตรายต่อสุขภาพ จริงหรือ? (Live84) 1:16:34

1 สรุปงานวิจัยสำคัญว่า ทำไมระดับ LDLที่สูง x เวลา จึงอันตรายต่อสุขภาพหลอดเลือดหัวใจ (Live 82) 1:28:55

1 สรุปงานวิจัยมากกว่า 40 ฉบับว่า Time Restricted Eating มีผลต่อการลดน้ำหนักอย่างไร (Live#83) 1:17:47

1 คืนความเป็นธรรม ให้ Ancel Key กับ The Seven Countries Study (Live 81) 1:51:19

1 กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนถูกทำให้เป็นผู้ร้ายได้อย่างไร ตอนจบ (Live 80) 1:44:25

1 กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนถูกทำให้เป็นผู้ร้ายได้อย่างไร ตอนที่ 1 (Live 79) 1:27:20

1 คุณภาพของไขมันในอาหารส่งผลกระทบต่อการเป็นต้นเหตุของการความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตันหรือไม่ (Live 78) 1:50:20

1 สรุปหนังสือ Why We Die: The Science of Aging and The Quest For Immortality ตอนที่ 2 (Live#77) 1:23:23

1 สรุปหนังสือ Why We Die: The New Science of Aging and The Quest For Immortality (Live#76) 1:20:51

1 The Cholesterol Wars หนังสือ และงานวิจัยของ Prof. Daniel Steinberg MD, PhD 5 ฉบับ (ตอนจบ) 1:25:24

1 The Cholesterol Wars สรุปหนังสือ และงานวิจัยของ Prof.Daniel Steinberg MD, PhD จำนวน 5 ฉบับ (ตอนที่ 1) 1:28:56

1 คำถาม 20 ข้อ เกี่ยวกับ โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน (ไลฟ์#73: ) 1:15:02
ขอต้อนรับสู่ Player FM!
Player FM กำลังหาเว็บ