Artwork

เนื้อหาจัดทำโดย dhamma.com เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก dhamma.com หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
Player FM - แอป Podcast
ออฟไลน์ด้วยแอป Player FM !

ไตรสิกขา : หลวงปู่ปราโมทย์ ปาโมชฺโช 16 มิ.ย. 2567

1:04:28
 
แบ่งปัน
 

Manage episode 427755450 series 2106377
เนื้อหาจัดทำโดย dhamma.com เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก dhamma.com หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
เราจะต้องสร้างภูมิคุ้มกันความผิดพลาดของตัวเองขึ้นมา คือการศึกษาพระพุทธศาสนา การศึกษาศาสนาพุทธมีบทเรียน 3 บท ที่เรียกว่าไตรสิกขา เราจะต้องศึกษาว่าทำอย่างไรเราจะมีศีล เพราะศีลเป็นเครื่องมือข่มกิเลส ไม่ให้มีอำนาจเหนือจิตใจ ไม่ให้กิเลสบงการจิตใจเราได้ ศีลที่ดีมากๆ เลยสำหรับนักปฏิบัติชื่ออินทรียสังวรศีล อินทรียสังวรศีลก็คือการมีสติรักษาจิตของเรานั่นล่ะ เวลาที่เราภาวนาจริงๆ กิเลสเกิดมาแล้วเรามีสติรู้ทัน กิเลสดับอัตโนมัติเลย นี่คือบทเรียนที่หนึ่ง ทำอย่างไรจิตใจเราจะเป็นปกติ ศีลคือความเป็นปกติของจิตใจ ไม่ถูกกิเลสชั่วหยาบบงการ ศีลในขั้นต้นอาจจะมี 5 ข้อ 8 ข้อ 10 ข้อ แต่ศีลสำหรับนักปฏิบัติมีข้อเดียว มีอินทรียสังวรศีล เมื่อตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อินทรีย์คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เมื่อตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์แล้ว จิตใจเราเกิดอะไรขึ้น เรามีสติรู้ทัน บทเรียนที่สอง ชื่อ “อธิจิตตสิกขา” ขั้นที่เราจะพัฒนาจิตตสิกขานี่ จะทำให้จิตเรามีกำลัง กิเลสแผ้วพานไม่ได้ในขณะที่จิตเรามีกำลัง ถ้าเราเรียนรู้จิตใจตัวเองแล้ว สิ่งที่เราได้มาคือสมาธิที่ดี สมาธิที่ถูกต้อง บทเรียนสุดท้ายชื่อปัญญาสิกขา “อธิปัญญาสิกขา” เรียนรู้ให้เห็นความจริงของรูปนามกายใจ ว่ารูปนามกายใจนี้เป็นไตรลักษณ์ เพราะเห็นตามความเป็นจริงจะเบื่อหน่าย คลายความยึดถือแล้วหลุดพ้น หลวงปู่ปราโมทย์ ปาโมชฺโช มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 16 มิถุนายน 2567
  continue reading

2544 ตอน

Artwork
iconแบ่งปัน
 
Manage episode 427755450 series 2106377
เนื้อหาจัดทำโดย dhamma.com เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก dhamma.com หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
เราจะต้องสร้างภูมิคุ้มกันความผิดพลาดของตัวเองขึ้นมา คือการศึกษาพระพุทธศาสนา การศึกษาศาสนาพุทธมีบทเรียน 3 บท ที่เรียกว่าไตรสิกขา เราจะต้องศึกษาว่าทำอย่างไรเราจะมีศีล เพราะศีลเป็นเครื่องมือข่มกิเลส ไม่ให้มีอำนาจเหนือจิตใจ ไม่ให้กิเลสบงการจิตใจเราได้ ศีลที่ดีมากๆ เลยสำหรับนักปฏิบัติชื่ออินทรียสังวรศีล อินทรียสังวรศีลก็คือการมีสติรักษาจิตของเรานั่นล่ะ เวลาที่เราภาวนาจริงๆ กิเลสเกิดมาแล้วเรามีสติรู้ทัน กิเลสดับอัตโนมัติเลย นี่คือบทเรียนที่หนึ่ง ทำอย่างไรจิตใจเราจะเป็นปกติ ศีลคือความเป็นปกติของจิตใจ ไม่ถูกกิเลสชั่วหยาบบงการ ศีลในขั้นต้นอาจจะมี 5 ข้อ 8 ข้อ 10 ข้อ แต่ศีลสำหรับนักปฏิบัติมีข้อเดียว มีอินทรียสังวรศีล เมื่อตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อินทรีย์คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เมื่อตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจกระทบอารมณ์แล้ว จิตใจเราเกิดอะไรขึ้น เรามีสติรู้ทัน บทเรียนที่สอง ชื่อ “อธิจิตตสิกขา” ขั้นที่เราจะพัฒนาจิตตสิกขานี่ จะทำให้จิตเรามีกำลัง กิเลสแผ้วพานไม่ได้ในขณะที่จิตเรามีกำลัง ถ้าเราเรียนรู้จิตใจตัวเองแล้ว สิ่งที่เราได้มาคือสมาธิที่ดี สมาธิที่ถูกต้อง บทเรียนสุดท้ายชื่อปัญญาสิกขา “อธิปัญญาสิกขา” เรียนรู้ให้เห็นความจริงของรูปนามกายใจ ว่ารูปนามกายใจนี้เป็นไตรลักษณ์ เพราะเห็นตามความเป็นจริงจะเบื่อหน่าย คลายความยึดถือแล้วหลุดพ้น หลวงปู่ปราโมทย์ ปาโมชฺโช มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 16 มิถุนายน 2567
  continue reading

2544 ตอน

ทุกตอน

×
 
Loading …

ขอต้อนรับสู่ Player FM!

Player FM กำลังหาเว็บ

 

คู่มืออ้างอิงด่วน