Artwork

เนื้อหาจัดทำโดย 101 Podcast เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก 101 Podcast หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
Player FM - แอป Podcast
ออฟไลน์ด้วยแอป Player FM !

101 One-on-One Ep.203 | สู่โลกที่ดีกว่าเดิมในปี 2030 ด้วยเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน กับ ชล บุนนาค

1:18:47
 
แบ่งปัน
 

Manage episode 280895253 series 2402663
เนื้อหาจัดทำโดย 101 Podcast เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก 101 Podcast หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
ในปัจจุบัน เราปฏิเสธไม่ได้เลยว่า โลกกำลังเผชิญกับปัญหาที่ท้าทายหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาความยากจนและความหิวโหย หรือจะเป็นปัญหาความเหลื่อมล้ำที่เป็นปัญหาใหญ่ที่หลายประเทศกำลังเผชิญ ทำให้มีความพยายามจากหลายภาคส่วนที่จะหามาตรการหรือตั้งเป้าหมายบางอย่างร่วมกัน เพื่อบรรเทาเบาบางปัญหาดังกล่าว หนึ่งในหน่วยงานที่มีบทบาทในเรื่องนี้มาโดยตลอดคือ องค์การสหประชาชาติ (UN) ถ้าเรามองย้อนกลับไปในปี 2015 เรามีเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals; MDGs) ซึ่งเป็นความร่วมมือจากทั่วโลกในการต่อสู้กับปัญหาท้าทายที่โลกกำลังเผชิญ เป้าหมาย MDGs ได้กำหนดกรอบเวลาไว้ 15 ปี คือตั้งแต่ปี 2000-2015 เท่ากับว่าตอนนี้ โลกได้บรรลุเป้าหมาย MDGs แล้ว ต่อมาในปี 2015 UN ได้เสนอวาระการพัฒนา 2030 ในที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ทั้งหมด 17 เป้าหมาย และมุ่งบรรลุให้ได้ภายในปี 2030 เป้าหมายดังกล่าวได้รับการตอบรับอย่างดีจากประเทศสมาชิก และมีทั้งหมด 193 ประเทศร่วมลงนามรับรอง รวมถึงไทยด้วย 101 สนทนากับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชล บุนนาค ผู้อำนวยการโครงการ SDG Move และอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไล่เรียงตั้งแต่การทำความรู้จัก SDGs สถานการณ์โควิด-19 กับการขับเคลื่อน SDGs รวมไปถึงการวิเคราะห์ทิศทางสหรัฐฯ ในยุค โจ ไบเดน และย้อนมองการขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทย ดำเนินรายการโดย กานต์ธีรา ภูริวิกรัย กองบรรณาธิการ The 101.world (บันทึกเทปเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2020)
  continue reading

940 ตอน

Artwork
iconแบ่งปัน
 
Manage episode 280895253 series 2402663
เนื้อหาจัดทำโดย 101 Podcast เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก 101 Podcast หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
ในปัจจุบัน เราปฏิเสธไม่ได้เลยว่า โลกกำลังเผชิญกับปัญหาที่ท้าทายหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาความยากจนและความหิวโหย หรือจะเป็นปัญหาความเหลื่อมล้ำที่เป็นปัญหาใหญ่ที่หลายประเทศกำลังเผชิญ ทำให้มีความพยายามจากหลายภาคส่วนที่จะหามาตรการหรือตั้งเป้าหมายบางอย่างร่วมกัน เพื่อบรรเทาเบาบางปัญหาดังกล่าว หนึ่งในหน่วยงานที่มีบทบาทในเรื่องนี้มาโดยตลอดคือ องค์การสหประชาชาติ (UN) ถ้าเรามองย้อนกลับไปในปี 2015 เรามีเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals; MDGs) ซึ่งเป็นความร่วมมือจากทั่วโลกในการต่อสู้กับปัญหาท้าทายที่โลกกำลังเผชิญ เป้าหมาย MDGs ได้กำหนดกรอบเวลาไว้ 15 ปี คือตั้งแต่ปี 2000-2015 เท่ากับว่าตอนนี้ โลกได้บรรลุเป้าหมาย MDGs แล้ว ต่อมาในปี 2015 UN ได้เสนอวาระการพัฒนา 2030 ในที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ทั้งหมด 17 เป้าหมาย และมุ่งบรรลุให้ได้ภายในปี 2030 เป้าหมายดังกล่าวได้รับการตอบรับอย่างดีจากประเทศสมาชิก และมีทั้งหมด 193 ประเทศร่วมลงนามรับรอง รวมถึงไทยด้วย 101 สนทนากับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชล บุนนาค ผู้อำนวยการโครงการ SDG Move และอาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไล่เรียงตั้งแต่การทำความรู้จัก SDGs สถานการณ์โควิด-19 กับการขับเคลื่อน SDGs รวมไปถึงการวิเคราะห์ทิศทางสหรัฐฯ ในยุค โจ ไบเดน และย้อนมองการขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทย ดำเนินรายการโดย กานต์ธีรา ภูริวิกรัย กองบรรณาธิการ The 101.world (บันทึกเทปเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2020)
  continue reading

940 ตอน

ทุกตอน

×
 
Loading …

ขอต้อนรับสู่ Player FM!

Player FM กำลังหาเว็บ

 

คู่มืออ้างอิงด่วน