Artwork

เนื้อหาจัดทำโดย Prajerpee เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก Prajerpee หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
Player FM - แอป Podcast
ออฟไลน์ด้วยแอป Player FM !

ขึ้นจากหลุม (ต่อจากไปฝังศพ) เหม เวชกร

41:16
 
แบ่งปัน
 

Manage episode 339494466 series 3235845
เนื้อหาจัดทำโดย Prajerpee เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก Prajerpee หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

เหม เวชกร (17 มกราคม พ.ศ. 2446 – 16 เมษายน พ.ศ. 2512) เป็นศิลปินและนักเขียนชาวไทย

เขาเป็นที่รู้จักจากภาพประกอบของเขาจากปกนิยายขนาด 10 สตางค์ที่ส่งอิทธิพลต่อศิลปินและนักวาดภาพประกอบชาวไทยรุ่นต่อมา

และรวมถึงเรื่องผีของเขาด้วย

ต่อมาราว พ.ศ. 2546 ทาง สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ได้นำรวมเรื่องสั้นชุดนี้จำนวน 17 เรื่อง

มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์แนวสยองขวัญใช้ชื่อว่า ผี! วิญญาณและความผูกพัน

โดยเรื่อง มนุษย์ผู้ไม่สังคมโลก ทางผู้สร้างต้องแบ่งออกเป็นสองตอนจบ

เนื่องจากเป็นเรื่องที่มีความยาวมากที่สุดในบรรดาเรื่องผีทั้งหมดของครูเหม

จากนั้นจึงได้มีการนำเสนอออกมาในรูปแบบไฟล์เสียงแบบครบสมบูรณ์ทั้ง 5 เล่มผ่านทางช่อง ยูทูบ ชื่อ พระเจอผี

และรายการ ห้องสมุดหลังไมค์ ทางสถานีวิทยุไทยพีบีเอสเรดิโอออนไลน์

โดยมีตัวละครที่เป็นตัวดำเนินเรื่องหลักทั้งหมด 7 ตัวได้แก่

  • นายทองคำ ดำเนินเรื่องในเล่ม ปีศาจของไทย
  • นายนพ/พระนพ ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ปีศาจของไทย ดำเนินเรื่องในเล่ม วิญญาณที่เร่ร่อน และมีบทบาทสมทบในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายสมัย ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม วิญญาณที่เร่ร่อน ดำเนินเรื่องในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายอุทิศ ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย ดำเนินเรื่องในเล่ม ผู้มาจากเมืองมืด-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายเรือง/อ้ายเรือง ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย และดำเนินเรื่องในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายสิงห์โต ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ใครอยู่ในอากาศ และดำเนินเรื่องในเล่ม ใครอยู่ในอากาศ
  • นายแก้ว ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม วิญญาณที่เร่ร่อน
  continue reading

200 ตอน

Artwork
iconแบ่งปัน
 
Manage episode 339494466 series 3235845
เนื้อหาจัดทำโดย Prajerpee เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก Prajerpee หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

เหม เวชกร (17 มกราคม พ.ศ. 2446 – 16 เมษายน พ.ศ. 2512) เป็นศิลปินและนักเขียนชาวไทย

เขาเป็นที่รู้จักจากภาพประกอบของเขาจากปกนิยายขนาด 10 สตางค์ที่ส่งอิทธิพลต่อศิลปินและนักวาดภาพประกอบชาวไทยรุ่นต่อมา

และรวมถึงเรื่องผีของเขาด้วย

ต่อมาราว พ.ศ. 2546 ทาง สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ได้นำรวมเรื่องสั้นชุดนี้จำนวน 17 เรื่อง

มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์แนวสยองขวัญใช้ชื่อว่า ผี! วิญญาณและความผูกพัน

โดยเรื่อง มนุษย์ผู้ไม่สังคมโลก ทางผู้สร้างต้องแบ่งออกเป็นสองตอนจบ

เนื่องจากเป็นเรื่องที่มีความยาวมากที่สุดในบรรดาเรื่องผีทั้งหมดของครูเหม

จากนั้นจึงได้มีการนำเสนอออกมาในรูปแบบไฟล์เสียงแบบครบสมบูรณ์ทั้ง 5 เล่มผ่านทางช่อง ยูทูบ ชื่อ พระเจอผี

และรายการ ห้องสมุดหลังไมค์ ทางสถานีวิทยุไทยพีบีเอสเรดิโอออนไลน์

โดยมีตัวละครที่เป็นตัวดำเนินเรื่องหลักทั้งหมด 7 ตัวได้แก่

  • นายทองคำ ดำเนินเรื่องในเล่ม ปีศาจของไทย
  • นายนพ/พระนพ ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ปีศาจของไทย ดำเนินเรื่องในเล่ม วิญญาณที่เร่ร่อน และมีบทบาทสมทบในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายสมัย ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม วิญญาณที่เร่ร่อน ดำเนินเรื่องในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายอุทิศ ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย ดำเนินเรื่องในเล่ม ผู้มาจากเมืองมืด-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายเรือง/อ้ายเรือง ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย และดำเนินเรื่องในเล่ม ผู้ที่ไม่มีร่างกาย-ใครอยู่ในอากาศ
  • นายสิงห์โต ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม ใครอยู่ในอากาศ และดำเนินเรื่องในเล่ม ใครอยู่ในอากาศ
  • นายแก้ว ปรากฏตัวครั้งแรกในเล่ม วิญญาณที่เร่ร่อน
  continue reading

200 ตอน

ทุกตอน

×
 
Loading …

ขอต้อนรับสู่ Player FM!

Player FM กำลังหาเว็บ

 

คู่มืออ้างอิงด่วน