Artwork

เนื้อหาจัดทำโดย webmaster and ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก webmaster and ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
Player FM - แอป Podcast
ออฟไลน์ด้วยแอป Player FM !

นิวรณ์ 5 [6744-3d]

56:52
 
แบ่งปัน
 

Manage episode 447498880 series 2968615
เนื้อหาจัดทำโดย webmaster and ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก webmaster and ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

“นิวรณ์ 5” กิเลสที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม เกิดขึ้นในช่องทางใจระหว่างการปฏิบัติสมาธิภาวนา เป็นเครื่องขวางกั้น ทำให้จิตขุ่นมัว ไม่เป็นสมาธิประกอบด้วย 5 อย่างดังนี้

1. กามฉันทะ คือ ความพอใจในกาม, ความต้องการกามคุณ

2. พยาบาท คือ ความคิดร้าย, ความขัดเคืองแค้นใจ

3. ถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาความซบเซาเซื่องซึม, ความหดหู่

4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟุ้งซ่านรำคาญใจ, ความกระวนกระวายคิดไปในกาม พยาบาทเบียดเบียน

5. วิจิกิจฉา คือความลังเลสงสัย ความเคลือบแคลงเห็นแย้ง

การจะระงับนิวรณ์ได้ สิ่งสำคัญที่สุด คือ “การมีสติ” ระลึกรู้ถึงนิวรณ์ที่เกิดขึ้น และการใช้ “กำลังของสติ” ไม่ให้จิตน้อมไปตามความคิดเหล่านั้น นั่นจะทำให้นิวรณ์อ่อนกำลังและดับไป นอกจากนี้ การไม่ตั้งความพอใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การเจริญพรหมวิหาร 4 รวมถึงการเจริญโพชฌงค์ 7 ก็ทำให้นิวรณ์ระงับได้ เช่นเดียวกัน

ทั้งนี้ ในการเจริญสมาธิภาวนา เราอาจใช้นิวรณ์เป็นกรอบนิมิตได้ว่า สมาธิช่วงไหนควรเป็นไปเพื่อให้จิตสงบ หรือช่วงไหนควรเป็นไปเพื่อการพิจารณาให้เกิดปัญญา ได้อีกด้วย

Time stamp 6744-3d:

(00:38) ปฏิบัติภาวนา เจริญอานาปานสติ

(10:27) ความหมายของนิวรณ์

(12:42) กามฉันทะ

(23:35) ความพยาบาท

(31:25) ถีนมิทธะ

(37:15) อุทธัจจะ กุกกุจจะ

(41:12) วิจิกิจฉา

(44:47) วิธีแก้ นิวรณ์ 5

(53:50) โพชฌงค์ 7 ระงับ นิวรณ์ 5 ได้


Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.

  continue reading

334 ตอน

Artwork
iconแบ่งปัน
 
Manage episode 447498880 series 2968615
เนื้อหาจัดทำโดย webmaster and ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดหาให้โดยตรงจาก webmaster and ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์ของพวกเขา หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่แสดงไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

“นิวรณ์ 5” กิเลสที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม เกิดขึ้นในช่องทางใจระหว่างการปฏิบัติสมาธิภาวนา เป็นเครื่องขวางกั้น ทำให้จิตขุ่นมัว ไม่เป็นสมาธิประกอบด้วย 5 อย่างดังนี้

1. กามฉันทะ คือ ความพอใจในกาม, ความต้องการกามคุณ

2. พยาบาท คือ ความคิดร้าย, ความขัดเคืองแค้นใจ

3. ถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาความซบเซาเซื่องซึม, ความหดหู่

4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟุ้งซ่านรำคาญใจ, ความกระวนกระวายคิดไปในกาม พยาบาทเบียดเบียน

5. วิจิกิจฉา คือความลังเลสงสัย ความเคลือบแคลงเห็นแย้ง

การจะระงับนิวรณ์ได้ สิ่งสำคัญที่สุด คือ “การมีสติ” ระลึกรู้ถึงนิวรณ์ที่เกิดขึ้น และการใช้ “กำลังของสติ” ไม่ให้จิตน้อมไปตามความคิดเหล่านั้น นั่นจะทำให้นิวรณ์อ่อนกำลังและดับไป นอกจากนี้ การไม่ตั้งความพอใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การเจริญพรหมวิหาร 4 รวมถึงการเจริญโพชฌงค์ 7 ก็ทำให้นิวรณ์ระงับได้ เช่นเดียวกัน

ทั้งนี้ ในการเจริญสมาธิภาวนา เราอาจใช้นิวรณ์เป็นกรอบนิมิตได้ว่า สมาธิช่วงไหนควรเป็นไปเพื่อให้จิตสงบ หรือช่วงไหนควรเป็นไปเพื่อการพิจารณาให้เกิดปัญญา ได้อีกด้วย

Time stamp 6744-3d:

(00:38) ปฏิบัติภาวนา เจริญอานาปานสติ

(10:27) ความหมายของนิวรณ์

(12:42) กามฉันทะ

(23:35) ความพยาบาท

(31:25) ถีนมิทธะ

(37:15) อุทธัจจะ กุกกุจจะ

(41:12) วิจิกิจฉา

(44:47) วิธีแก้ นิวรณ์ 5

(53:50) โพชฌงค์ 7 ระงับ นิวรณ์ 5 ได้


Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.

  continue reading

334 ตอน

ทุกตอน

×
 
Loading …

ขอต้อนรับสู่ Player FM!

Player FM กำลังหาเว็บ

 

คู่มืออ้างอิงด่วน