เรียนรู้หัวข้อธรรมะ ที่เป็นแผนที่แม่บท เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ด้วยสูตร 15+45 คือนั่งสมาธิ 15 นาที แล้วตามด้วยการอธิบายหัวข้อธรรมะ 45 นาที เพื่อให้ตกผลึกความคิดเป็นสัมมาทิฏฐิ มีปัญญาเดินทางแผนที่คำสอนได้. New Episode ทุกวันพุธ เวลา 05:00, Podcast นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายการธรรมะรับอรุณ ออกอากาศทุกวันทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) มีคำถาม/ข้อเสนอแนะ หรือสมัครติดตามฟังทั้ง 7 รายการ ที่ panya.org Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ความประสงค์ 5 อย่างของบุคคล 6 ประเภท [6807-3d]
56:46
56:46
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
56:46ได้นำเอา ขัตติยสูตร ที่ว่าด้วยความประสงค์ 5 อย่างของบุคคล 6 ประเภท มาอธิบายขยายความ เพื่อให้ทราบถึงความต้องการที่เหมือนกัน หรือแตกต่างกันของบุคคลแต่ละประเภท เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาความเข้าใจ และสานสัมพันธภาพที่ดีในระหว่างบุคคล เริ่มจากความประสงค์เพื่อให้สมตามสิ่งที่ปรารถนา ในบุคคลแต่ละประเภทนั้น ย่อมมีความประสงค์ต้องการเพื่อให้สมความปรารถนาส…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
การใช้งาน “พรหมวิหาร 4” [6806-3d]
53:32
53:32
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
53:32ในโลกปัจจุบันนี้มีเรื่องขัดแย้งวุ่นวายเกิดขึ้นหลายเรื่องราว บางเรื่องก็หาทางออกไม่ได้เหตุเพราะมีเรื่องราวที่เกิดจากการหวงกั้น การมีเรื่องราวที่เกิดจากการหวงกั้นขึ้นนั้นมีเหตุเริ่มมาจาก “ตัณหา” คือ เมื่อมีตัณหาจะทำให้เกิดการแสวงหา ทำให้มีการได้ เมื่อได้มาทำให้มีการปลงใจรัก แล้วก่อให้เกิดความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ ทำให้มีความสยบมัวเมาอย่างจับอกจับใจ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
โพธิปักขิยธรรม องค์ธรรมแห่งการตรัสรู้ [6805-3d]
54:44
54:44
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
54:44“โพธิปักขิยธรรม” คือองค์ธรรมแห่งการตรัสรู้ มี 7 หมวด 37 ประการได้แก่ สติปัฏฐาน4 สัมมัปปธาน4 อิทธิบาท4 อินทรีย์5 พละ5 โพชฌงค์7 มรรคมีองค์8 องค์ธรรมทั้ง 7 หมวดนี้คือองค์ธรรมแห่งการตรัสรู้ธรรมเหมือนกัน ในครั้งนี้จะกล่าวให้เห็นความเหมือนและต่างกันขององค์ธรรมเหล่านี้ คู่แรกคือ “อินทรีย์5” กับ “พละ5” เหมือนกันโดยองค์รวม คือ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา …
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
การแสวงหา 2 อย่าง ด้วยตา 2 ข้าง [6804-3d]
56:20
56:20
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
56:20ผู้ที่มีดวงตา ก็จะสามารถใช้ตามองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ และจะสามารถแสวงหาสิ่งที่ต้องการได้ ในตอนนี้จะกล่าวถึง “การแสวงหา 2 อย่าง ด้วยตา 2 ข้าง” โดยจะกล่าวนัยยะการใช้ดวงตา มาแยกบุคคลได้ 4 จำพวกดังนี้ 1. คนตาบอด คือ บุคคลที่ไม่มีดวงตา (คือปัญญา) มองหาลู่ทางที่จะให้ได้ทรัพย์ที่ยังไม่ได้ มองไม่เห็นทางที่จะทำให้ทรัพย์ที่มีอยู่งอกเงยขึ้น และไม่มีดวงตา ที่เป็น…
…
continue reading
“สติ” เป็นตัวช่วยจัดระเบียบจิตใจของเรา สติที่ท่านพระสารีบุตรอธิบายเจาะจงลงไปคือ เครื่องมือที่ชื่อว่า “กายคตาสติ” โดยท่านอุปมาลักษณะของจิตไว้ 9 อย่าง คือ จิตเสมอด้วยดิน จิตที่มีสติตั้งไว้ก็จะเหมือนกับดินไม่ว่าใครจะทิ้งของสะอาดหรือไม่สะอาด ดินก็ยังเป็นดินเสมอ จิตเสมอด้วยน้ำ จิตที่มีสติตั้งไว้ก็จะเหมือนกับน้ำไม่ว่าใครจะทิ้งของสะอาดหรือไม่สะอาด น้ำก็ยั…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ธรรม 8 ประการที่เป็นเหตุให้ได้ปัญญา [6802-3d]
57:58
57:58
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:58“ปัญญา” ในความหมายของพุทธศาสนาคือ การตระหนักรู้หรือตระหนักรู้ถึงธรรมชาติที่แท้จริงของความเป็นจริงที่เหนือกว่าความเข้าใจทั่วไป คือสิ่งที่เมื่อเรารู้และเข้าใจแล้วจะทำความสุขอันยั่งยืนที่เหนือกว่าสุขเวทนา สุขที่ระงับ สุขที่เป็นความสงบเย็น พระพุทธเจ้าได้กล่าวถึงเหตุปัจจัยที่ให้ได้ปัญญาที่ยังไม่ได้และเพื่อความบริบูรณ์แห่งปัญญาที่ได้แล้วไว้ 8 ประการ ได้แ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
สุขที่ควรเสพและสุขที่ไม่ควรเสพ [6801-3d]
1:00:41
1:00:41
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
1:00:41ในช่วงเทศกาลปีใหม่ทุกคนล้วนส่งความสุขให้กันและกัน ในตอนนี้จะกล่าวถึงสุขที่ควรเสพและไม่ควรเสพ เราต้องมีปัญญาที่จะแยกแยะได้ว่าสุขแบบไหนที่ควรเสพและไม่ควรเสพ พระพุทธเจ้าแบ่งความสุขออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ ความสุขที่เกิดจากมิจฉาทิฏฐิ คือความสุขที่เสพแล้วกิเลสเพิ่มขึ้น จิตใจชุ่มไปด้วยกาม ความสุขประเภทที่ไม่ควรเสพนี้มี 4 อย่างคือ 1.ความสุขที่เกิดจากการฆ่า …
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
"ภควา" ผู้จำแนกแจกธรรม [6752-3d]
57:51
57:51
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:51ในพุทธศาสนานี้มีผู้สอนเพียงผู้เดียว คือพระพุทธเจ้า พระองค์เป็นผู้ที่สามารถสอนได้อย่างดี อย่างงามและเมื่อนำคำสอนไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ก็จะให้ผลที่ดีที่งามอย่างมาก ซึ่งความสามารถในการบอกสอนของพระพุทธเจ้าตรงนี้เรียกว่า ภควา คือเป็นผู้จำแนกแจกธรรม ในที่นี้จะกล่าวถึงวิธีสอนของพระพุทธเจ้า โดยจะนำนัยยะต่างๆมากล่าวดังนี้ นัยยะที่1.คุณสมบัติของผู้แสดงธรรม…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ข้อควรพิจารณาเนืองๆ [6751-3d]
58:42
58:42
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
58:42สิ่งที่ควรพิจารณาเนืองๆ 5 ประการ 1.เรามีความแก่เป็นธรรมดา จะไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ คือต้องไตร่ตรองใคร่ครวญอยู่เป็นประจำ ตริตรึกด้วยจิตที่เป็นสมาธิ ด้วยสัมมาทิฏฐิ ด้วยศรัทธา จนเข้าไปสู่จิตใจ ถ้าพิจารณาสิ่งนี้อยู่เนืองๆ อานิสงส์ที่จะได้รับคือ จะทำให้ละความเพลินความมัวเมาในความเป็นหนุ่มสาวได้ 2.เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา จะไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ พ…
…
continue reading
การบูชา ที่มีสิ่งของประกอบในการบูชานั้น เรียกว่าอามิสบูชา และถ้าเจาะจงว่ามีผู้รับสิ่งของที่ให้นั้นจะเรียกว่า “ทาน” คือการให้ แต่ถ้าตั้งไว้เฉยๆโดยไม่มีผู้รับชัดเจน แต่หวังว่าจะมีผู้รับเรียกว่า “ยัญ” ในที่นี้จะกล่าวถึง การบูชายัญ โดยพระพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ใน กูฏทันตสูตร เป็นการกล่าวถึงการบูชายัญที่ถูกต้องไว้กับกูฏทันตพราหมณ์ ลักษณะยัญที่มีองค์ประ…
…
continue reading
ในมุมมองของคนที่มักโกรธ พอโกรธหรือไม่พอใจใครแล้ว ก็จะมองคน ๆ นั้นด้วยความเป็นศัตรูทันที เขาจึงเห็นว่าความโกรธมีเพื่อที่จะทำให้ตนเองรู้สึกดี เพราะเขาจะมีความมุ่งหมาย 7 ประการนี้แก่ผู้เป็นศัตรู คือ 1) หวังให้เขามีผิวพรรณทราม 2) หวังให้เขาเป็นทุกข์ 3) หวังให้เขาไม่มีความเจริญ 4) หวังให้เขาปราศจากโภคทรัพย์ 5) หวังให้เขาปราศจากยศตำแหน่ง 6) หวังให้เขาปรา…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ขันธ์ 5 แบบแจกแจง และการทำงานของขันธ์ (ตอนที่ 2)
59:21
59:21
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
59:21ขันธ์ แปลว่า หมู่หรือกองของรูปกับนามที่แยกออกได้เป็น 5 กอง ซึ่งเรียกว่า ขันธ์ 5 คือ รูป, เวทนา ,สัญญา, สังขาร ,วิญญาณ จัดอยู่ใน “ทุกขอริยสัจ” ความจริงอันประเสริฐคือทุกข์ และกิจที่ต้องทำคือ กำหนดรู้ทุกข์ การทำงานของขันธ์ 5 แต่ละขันธ์ เป็นการอาศัยกันและกันเกิดขึ้นของนามรูป และวิญญาณเป็นปัจจัยจึงมีผัสสะ -> ให้เกิดการปรุงแต่ง คือ สังขาร -> สัญญา -> เวท…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ขันธ์ 5 โดยรวม (ตอนที่1) [6747-3d]
57:59
57:59
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:59“ทุกขอริยสัจ” ความจริงอันประเสริฐ คือ “ทุกข์” อุปาทาน (ความยึดถือ) ในขันธ์ 5 เป็นทุกข์ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเป็นสุข หรือ ทุกข์ ต่างอาศัยเหตุเกิด ย่อมเป็นทุกข์ เพราะมีความไม่เที่ยง เป็นอนัตตา ขันธ์ 5 คือ กองทุกข์ แบ่งออกได้เป็น 5 กอง ได้แก่ “รูป” คือ สิ่งที่แตกสลายได้ เปรียบเหมือนก้อนฟองน้ำ ย่อมปรากฏเป็นของว่างเปล่า หาแก่นสารมิได้ “เวทนา” คือ ความรู้สึกท…
…
continue reading
การที่เราจะรู้จักใครสักคนอย่างดีพอนั้น… ไม่ใช่จากคำบอกเล่าของบุคคลอื่น หรือ จากสิ่งที่เราได้ยินได้เห็นเพียงแค่ในช่วงเวลาสั้นๆ นั้น แต่ต้องอาศัยเวลาในการอยู่ร่วมกันนานพอสมควร รวมถึงการทำไว้ในใจโดยแยบคาย และปัญญา ฐานสูตร ว่าด้วยฐานะที่พึงรู้ด้วยฐานะ เราจะรู้ได้ว่าบุคคลนั้น มีศีล สมาธิ และปัญญาจะพิจารณาได้จาก “ศีล” คือความปกติ พึงรู้ได้ด้วยการอยู่ร่วม…
…
continue reading
เหตุให้อายุยืน ได้แก่ 1. รู้จักทำความสบายแก่ตนเอง คือรู้จักสิ่งที่เป็นสัปปายะ รู้จักสิ่งที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตน 2. รู้จักประมาณในสิ่งที่สบาย 3. บริโภคอาหารที่ย่อยง่าย รวมถึงการเคี้ยวอาหารให้ละเอียดด้วย 4. ประพฤติเหมาะสมในเรื่องเวลา คือ ทำกิจกรรมที่เหมาะสมกับเวลาอย่างสม่ำเสมอ เช่น นอนให้เป็นเวลา ตื่นเป็นเวลา ออกกำลังให้สม่ำเสมอเป็นเวลา 5. ประพ…
…
continue reading
“นิวรณ์ 5” กิเลสที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม เกิดขึ้นในช่องทางใจระหว่างการปฏิบัติสมาธิภาวนา เป็นเครื่องขวางกั้น ทำให้จิตขุ่นมัว ไม่เป็นสมาธิประกอบด้วย 5 อย่างดังนี้ 1. กามฉันทะ คือ ความพอใจในกาม, ความต้องการกามคุณ 2. พยาบาท คือ ความคิดร้าย, ความขัดเคืองแค้นใจ 3. ถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาความซบเซาเซื่องซึม, ความหดหู่ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
นาถกรณธรรม 10 ประการ [6743-3d]
57:19
57:19
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:19ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสไว้ว่าให้พึ่งตน พึ่งธรรมนั้น หมายถึง พึ่งธรรมของพระองค์ ในตอนนี้จึงจะยกธรรมเป็นที่พึ่ง หรือคุณธรรมที่ทำให้ตนเป็นที่พึ่งของตนได้ คือนาถกรณธรรม 10 ประการ มากล่าว ดังนี้ ศีล คือ ความประพฤติดีงามสุจริต รักษาระเบียบวินัย ผู้มีศีลถือว่าเป็นผู้มีที่พึ่งแล้ว พาหุสัจจะ คือ ความเป็นผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก มีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในธ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ธรรมเครื่องอยู่อย่างผาสุก [6742-3d]
58:11
58:11
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
58:11ธรรมเครื่องอยู่อย่างผาสุกในที่นี้จะกล่าวไว้ 2 กรณีคือ กรณีที่ 1 คือผู้ที่อยู่คนเดียวจะอยู่อย่างไรให้ผาสุกอยู่ได้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้เป็น 2 นัยยะ ได้แก่นัยยะที่ตรัสไว้กับภิกษุทั้งหลายว่า ธรรมเครื่องอยู่อย่างผาสุกคือ ฌาน 1/ ฌาน 2/ ฌาน3/ ฌาน4 / การทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ ส่วนนัยยะที่ 2 ได้ปรารภในคหบดีเจาะจงสำหรับผู้ครองเรือนไว้ คือโสตาปัต…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
วิธีพิจารณาหลักธรรมคำสอนเพื่อสุขในปัจจุบัน [6741-3d]
58:13
58:13
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
58:13พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมะไว้อย่างดีและรัดกุมรอบคอบไม่ละหลวม ในที่นี้จะนำธรรมมะที่กล่าวถึงวิธีคิดวิธีไตร่ตรองพิจารณาในแนวทางคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อนำทางแห่งความสุขในปัจจุบัน โดยจะนำธรรมะหลายหัวข้อมากล่าวดังนี้ ประการแรก “โคตรมีสูตร” เป็นธรรมง่ายๆย่อๆที่พระพุทธเจ้าบอกแก่นางโคตรมี ที่ได้ขอข้อธรรมที่จะนำไปปฏิบัติเมื่ออยู่คนเดียว หลักเกณฑ์ที่พระพุทธเจ…
…
continue reading
บางครั้ง..คนเรานั้น ก็มักจะสับสนในธรรมที่ดูจะเหมือนๆ กัน คล้ายๆ กัน จนแยกไม่ออกว่า “ ผลผลิตของธรรมนั้นจะให้ผลออกมาอย่างไร ” จึงขอยกธรรมที่ดูจะเหมือนๆ กันขึ้นมาเปรียบเทียบกันเพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างในความหมาย และคุณลักษณะของธรรมนั้นๆ อย่างแยบคาย และเพื่อก่อให้เกิดความเห็นที่ถูกต้อง เป็นสัมมาทิฎฐิไปสู่พระนิพพานได้ โดยธรรมที่หยิบยกมานี้ เมื่อพิจารณา…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ภัยอันตรายที่พึงพิจารณา [6739-3d]
57:05
57:05
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:05พระพุทธเจ้าได้ทรงแบ่งภัยในโลกนี้ไว้ 2 อย่างคือ ภัยที่ช่วยเหลือกันได้ และภัยที่ช่วยกันไม่ได้ 1.ภัยที่พอช่วยเหลือกันได้ ได้แก่ 1.ภัยน้ำท่วม 2.ภัยเกิดจากไฟไหม้ 3.ภัยเกิดจากโจรขโมยและสงคราม ภัยเหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วยังพอช่วยเหลือให้ผ่อนหนักเป็นเบาได้บ้าง มากบ้างน้อยบ้าง ตามสถานการณ์ 2.ภัยที่ช่วยกันไม่ได้ ถึงแม้จะเป็น พ่อ แม่ ลูก ที่รักและห่วงใยกันแค…
…
continue reading
ธรรมะที่ช่วยประสานประโยชน์ให้เกิดความสามัคคี ให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็นเครื่องช่วยขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ทำให้คนอยู่ร่วมกันด้วยความรัก ให้เกิดความสงเคราะห์กัน เข้าใจกันลงกันได้ สามารถนำไปใช้ได้ตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงระดับสังคม หมวดธรรมที่ว่านี้นั่นก็คือ “สังคหวัตถุ 4” อันประกอบไปด้วย 1. ทาน คือ การรู้จักให้ รู้จักเสียสละ การเผื่อแผ่ แบ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
เบญจศีลและเบญจธรรม [6737-3d]
57:14
57:14
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:14พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดง หลักคำสอนและวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ สรุปเป็นใจความสำคัญว่าไว้ 3 ขั้น คือ ให้ละเว้นความชั่ว ให้ทำความดี และทำจิตใจให้บริสุทธิ์ นี่คือเส้นทางที่จะนำไปสู่ทางหลุดพ้นได้ ซึ่งในครั้งนี้จะกล่าวถึงหลักธรรมที่เป็นขั้นของการชี้แนวทางแห่งโลกุตระ นั่นคือเบญจศีลและเบญจธรรม เบญจศีลและเบญจธรรม เป็นธรรมคู่กัน คนที่มีเบญจธรรมจึงจะเป็นผู้มีเบญจศีล…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
กถาวัตถุ 10 ประการ [6736-3d]
58:44
58:44
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
58:44คำพูดเป็นสิ่งสำคัญ พระพุทธเจ้าท่านจึงทรงบัญญัติไว้ถึง ‘กถาวัตถุ 10’ คือ เรื่องที่ควรพูด นอกเหนือจาก คำพูดที่เว้นขาดจากการพูดโกหก ส่อเสียด หยาบคาย และพูดเพ้อเจ้อ และ ‘อักโกสวัตถุ 10’ คือ เรื่องที่ไม่ควรพูด เพราะไม่มีประโยชน์ และทำความเจ็บช้ำน้ำใจแก่ผู้อื่น ได้แก่ ชาติกำเนิด ชื่อ โคตร อาชีพ ศิลปะ (ฝีมือ) โรค รูปพรรณสัณฐาน กิเลส อาบัติ และคำสบประมาทอื…
…
continue reading
คัมภีร์มหาปัฏฐาน เป็น 1 ใน 7 คัมภีร์ที่ใช้สวดในงานศพ ได้แก่ 1.ธัมมสังคณี 2.วิภังคปกรณ์ 3.ธาตุกถา 4. ปุคคลบัญญัติ 5. กถาวัตถุ 6.ยมกปกรณ์ และ 7.มหาปัฏฐาน โดยบทสวดมหาปัฏฐาน เป็นบทสวดที่กล่าวถึง ปัจจัย 24 ประการที่แสดงความเป็นไปของสภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลแก่กัน หรือเป็นองค์ประกอบที่ช่วยเอื้อ เกื้อหนุน ค้ำจุน เป็นเหตุ หรือเป็นเงื่อนไขให้สิ่งอื่น หรือสภ…
…
continue reading
การจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดความสำเร็จขึ้นได้ ต้องอาศัยความตั้งใจมั่นอย่างแรงกล้า ในทีฆนิกาย กล่าวถึง ‘อธิษฐาน’ ซึ่งไม่ใช่การร้องขอ แต่หมายถึง ธรรม 4 ประการ ที่ควรตั้งมั่นไว้ในใจ ได้แก่ ปัญญา (ใช้พิจารณา) สัจจะ (ทำให้เกิดขึ้นจริง) จาคะ (สละความเคยชินที่ไม่ดีออก) และอุปสมะ (ความสงบ) ซึ่งสัมพันธ์กับหมวดธรรมในอังคุตรนิกาย ที่กล่าวถึง ‘พละ 4’ คือ กำลั…
…
continue reading
ปาฏิปุคคลิกทาน 14 อย่าง คือทานที่ให้จำเพาะบุคคล เรียงตามอานิสงส์ที่ได้จากน้อยไปหามากได้ดังนี้ - ให้ทานแก่สัตว์เดียรัจฉาน พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑๐๐ เท่า - ให้ทานแก่ผู้ทุศีล พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑,๐๐๐ เท่า - ให้ทานแก่บุคคลผู้มีศีล พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑๐๐,๐๐๐ เท่า - ให้ทานแก่บุคคลนอกศาสนาพุทธ ที่ปราศจากความกำหนัดในกาม พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑๐๐,๐๐๐โกฏิ เท่า…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
บทสวดแด่ผู้ล่วงลับ [6732-3d]
57:04
57:04
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:04บทสวดที่นิยมสวดในงานทำบุญบำเพ็ญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับนั้น มักจะมีเนื้อหาที่กล่าวให้เห็นถึงความไม่เที่ยง ให้เกิดการปล่อยวาง ให้เห็นถึงความสังเวช ปลงได้ ให้เห็นถึงความละเอียดลงไป ให้เห็นถึงอริยทรัพย์จะมีบทหลักๆที่สวดอยู่ประมาณ 3-4 บท ในที่นี้จะกล่าวถึงบทหลักๆ 4 บท โดยบทสวดทั้ง 4 นี้มีทั้งที่เป็นคาถาและพระสูตร คือ ปัพพโตปมคาถา เป็นคาถาที่กล่าวถึงภูเขาหิ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
อุนุปุพพิกถา เรื่องของ เนกขัมมะ การหลีกออกจากกาม [6731-3d]
58:23
58:23
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
58:23เนกขัมมะ ธรรมข้อสุดท้ายในอนุปุพพิกถาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ตามลำดับเพื่อเป็นแนวทางให้ไปถึงโลกุตระได้ ‘เนกขัมมะ’ หมายถึง การหลีกออกจากกาม ได้แก่ ฌานสมาธิในขั้นต่างๆ การจะทำให้จิตน้อมไปในทางหลีกออกจากกามได้นั้น ต้องฝึกจิตให้พิจารณาเห็นบ่อยๆ ถึงคุณและโทษของกามว่า มีคุณน้อยแต่โทษมากขนาดไหนเมื่อเทียบกับเนกขัมมะที่มีคุณมากแต่โทษน้อยนิดเดียว อย่างไรก็ตาม…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
กามโภคีบุคคล : บุคคลผู้บริโภคกาม [6730-3d]
58:07
58:07
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
58:07กามโภคีบุคคล:บุคคลผู้บริโภคกาม เป็นผู้ที่ยังอยู่ในกระแสโลกจะเป็นผู้ที่ถูกบีบคั้นด้วยกามเสมอ ในการกล่าวถึงเรื่องของทางโลกนั้นก็ใช้คำว่ากามมาอธิบายเป็นหลักโดยในที่นี้จะกล่าวถึง กาม 2 อย่าง กาม 5 อย่าง และกามโภคีบุคคล 10 อย่าง กาม 2 อย่างได้แก่ 1.กิเลสกาม 2.วัตถุกาม กาม 5 อย่าง คือ กามคุณ 5 ส่วนที่น่าปรารถนาน่าใคร่ มี 5 อย่างคือ รูป เสียง กลิ่น รส และ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
กามโภคีสุข 4 : สุขอันชอบธรรมที่ผู้ครองเรือนควรมี [6729-3d]
55:20
55:20
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
55:20สุขอันชอบธรรมที่ผู้ครองเรือนควรมีหรือความสุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ คือ กามโภคีสุข 4 ได้แก่ 1.อัตถิสุข : ความสุขเกิดจากความมีทรัพย์ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนโภคทรัพย์ที่ได้มาด้วยน้ำพักน้ำแรงความขยันหมั่นเพียรของตน และโดยชอบธรรม 2.โภคสุข : ความสุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนได้ใช้ทรัพย์ที่ได้มาโดยชอบนั้น เลี้ยงชีพ เลี้ยง…
…
continue reading
การที่จะนำธรรมะมาปฏิบัติจนเกิดเป็นผลขึ้นทางปัญญาได้นั้น มีขั้นตอน และกระบวนการในการปฏิบัติ โดยได้ยกหัวข้อธรรม “วิมุตติสูตร” มาอธิบายประกอบการปฏิบัติ เพื่อให้เห็นขั้นตอน และกระบวนการในการหยั่งลงสู่อมตธรรม ในวิมุตติสูตรนั้นจะประกอบไปด้วยธรรม 5 ข้อ ที่แตกต่างกัน แต่มีลำดับขั้นตอนการปฏิบัติที่จะให้เกิดผลเป็นวิมุตติสู่นิพพานได้เหมือนกัน ธรรม 5 ข้อนั้นได…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ธรรมเพื่อประโยชน์เบื้องหน้า [6727-3d]
57:17
57:17
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:17หมวดธรรม 4 ประการ 2 อย่าง ที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในชีวิต ได้แก่ สัมปรายิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 คือ ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์เบื้องหน้า 1.สัทธาสัมปทา : ความถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือความมั่นใจในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 2.สีลสัมปทา : ความถึงพร้อมด้วยศีล คือศีล 5 ที่ตั้งขึ้นด้วยเจตนางดเว้น 3.จาคสัมปทา : ความถึงพร้อมด้วยการเสียสละ คือสละสิ่…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
กิจจญาณ : กิจที่ควรทำในอริยสัจ4 [6726-3d]
55:00
55:00
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
55:00ความจริงโดยทั่วๆ ไปที่เป็นข้อเท็จจริง ตามสมมุติของโลกนั้น สามารถเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขปัจจัยตามบริบทของสังคมหรือเวลา เช่น ข่าว งานวิจัย สิ่งของ เสื้อผ้า ที่สมมุติเรียกตามบริบทของเวลานั้น แต่อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 อย่างนี้ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค แสดงถึง สัจธรรมความจริง ที่ไม่เกี่ยวเนื่องด้วยเวลา กิจในอริยสัจ 4 (กิจญาณ) คือ หน้าที…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ธรรมเพื่อการพัฒนาตนเอง [6725-3d]
56:36
56:36
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
56:36ภาวนา คือ การพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นทุกด้าน คนเราต้องมีการพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้า ให้เจริญงอกงาม หมวดธรรมะที่จะสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาตนเองที่จะนำมากล่าวในที่นี้ได้แก่ วุฑฒิธรรม 4 : ธรรมเป็นเครื่องเจริญงอกงามแห่งปัญญา 4 ประการ 1.สัปปุริสังเสวะ: การคบหาสัตบุรุษ 2.สัทธัมมัสสวนะ: ฟังสัทธรรม,เอาใจใส่เล่าเรียน 3.โยนิโสมนสิการ: การทำในใจโดยแยบคาย 4.ธัมมานุธัมม…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
อปริหานิยธรรม : ธรรมะอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม [6724-3d]
58:35
58:35
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
58:35อปริหานิยธรรม คือธรรมะอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เป็นธรรมที่อาศัยการรักษาเหตุปัจจัยแห่งความไม่เสื่อมและเหตุปัจจัยแห่งความเจริญ โดยแบ่งเป็นหลายนัยยะได้แก่ นัยยะแรก 1. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ 2. พร้อมเพรียงกันประชุม 3. ศึกษาและไม่ล้มล้างสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ 4. เคารพภิกษุผู้เป็นสังฆบิดร เป็นสังฆปริณายก 5. ไม่ลุอำนาจตัณหาคือความอยากที่…
…
continue reading
บทสวด สาราณียะธัมมะสูตตัง เป็นบทที่กล่าวถึงสาราณียธรรม6 ซึ่งเป็นธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน คือธรรมแห่งการสร้างความสามัคคี เป็นบทสวดที่มาจากพระสูตรที่พระภิกษุจะมักสวดกันในวันเข้าพรรษา บทสวดนี้พระพุทธเจ้าได้ตรัสกับภิกษุไว้ที่เมืองสาวัตถี ณ วัดเชตวัน โดยกล่าวถึงธรรม 6 ประการ ที่เมื่อนำไปปฏิบัติแล้วจะเป็นธรรมเครื่องก่อให้เกิดอานิสงส์ 7 ประ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ความฉลาดในธาตุ และอายตนะ [6722-3d]
57:01
57:01
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:01การทำอะไรซ้ำๆ ย้ำๆ อยู่บ่อยๆ จะทำให้เราเกิดความชำนาญในสิ่งนั้น เช่นเดียวกับการพิจารณาใคร่ครวญธรรม ถ้าเราใคร่ครวญทำย้ำๆซ้ำๆ อยู่บ่อยๆ อยู่เรื่อยๆ จะทำให้เกิดปัญญา(ญาณ)รู้ชัดขึ้นมา เป็นผู้ฉลาดรู้แจ้งในธรรมนั้น วิธีการพิจารณาใคร่ครวญโดยความเป็นธาตุ คือ ธาตุ 6 โดยพิจารณาเจาะแยกลงไป แยกออกๆจนเหลือหน่วยเล็กที่สุดและพิจารณาประกอบกันเข้ามาแล้วจึงมีหน่วยใหญ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ฐานะที่พึงพิจารณาเพื่อการหลุดพ้น [6721-3d]
56:24
56:24
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
56:24ปัญญาการรอบรู้ในทุกข์ของผู้ถึงซึ่งพระนิพพานหรือกล่าวอีกนัยยะหนึ่งได้ว่าเป็นปัญญาของพระอรหันต์นั่นเองโดยได้ยก “สัตตัฎฐานสูตร” ว่าด้วย ผู้มีปัญญาฉลาดรอบรู้ขันธ์ 5 ในฐานะ 7 ประการได้แก่ 1. รู้ชัดซึ่ง (รู้ลักษณะ) รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ 2. รู้ถึงเหตุเกิดขึ้น ของ รูป...ฯ คืออาศัยเหตุเกิด 3. รู้ถึงความดับ ของ รูป...ฯ คือ เมื่อเหตุดับ-ผลย่อมดับ 4. ว…
…
continue reading
“นิวรณ์ 5” ได้แก่ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา เป็นกิเลสประเภทหนึ่ง ที่เกิดขึ้นในช่องทางใจระหว่างการปฏิบัติสมาธิภาวนา เป็นเครื่องขวางกั้น ทำให้จิตขุ่นมัว ไม่เป็นสมาธิ การจะระงับนิวรณ์ได้ สิ่งสำคัญที่สุดคือ “การมีสติ” ระลึกรู้ถึงนิวรณ์ที่เกิดขึ้น และการใช้ “กำลังของสติ” ไม่ให้จิตน้อมไปตามความคิดเหล่านั้น นั่นจะทำให้นิวรณ์อ่อ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
แก้ปัญหาด้วยสัญญา 7 ประการ [6719-3d]
57:07
57:07
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:07ตัณหา ได้ชื่อว่าเป็นเหตุแห่งทุกข์ และเป็นที่มาของปัญหาต่างๆในชีวิตของคนเรา การมาเจริญภาวนาในสัญญา 7 ประการนี้ คือเมื่อมีการพิจารณาให้มากในสัญญาเหล่านี้ จิตจะไม่หวนกลับกำเริบและมีนิพพานเป็นที่สุด ปัญหาของตัณหาและกิเลสแก้โดยสัญญา 7 ประการ ดังนี้ ยินดีในเพศตรงข้าม(เมถุนธรรม) แก้โดย พิจารณา อสุภสัญญา รักตัวกลัวตาย (รักชีวิต) แก้โดยพิจารณา มรณสัญญา ติดใ…
…
continue reading
ธรรม 4 ประการที่เป็นเหตุให้พระสัทธรรมเลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป หรือ สัทธรรมปฏิรูป คือ 1.บทพยัญชนะ อรรถแห่งบทพยัญชนะที่สืบทอดกันมาไม่ดี 2. ภิกษุเป็นคนว่ายาก 3.ผู้เป็นพหูสูต ไม่ถ่ายทอดสูตรแก่ทายาท 4.พระเถระเป็นผู้เดินในทางทราม หากมีการสืบทอดบทพยัญชนะ กันมาอย่างดีคือจำเนื้อหาได้ถูกต้อง ออกเสียงอักขระชัดเจน รู้ความหมายอย่างถูกต้องก็จะทำให้พระสัทธรรมแท้ยัง…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
หิริ โอตตัปปะ : ธรรมคุ้มครองโลก [6717-3d]
57:13
57:13
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:13“โลกบาล” เป็นหลักคุ้มครองรักษาโลก ที่ช่วยให้มนุษย์อยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข อันประกอบด้วยหลักธรรม 2 ประการที่จะมาคู่กันเสมอในจิตใจ ที่จะทำให้บุคคลทำแต่ความดี คือหิริและโอตตัปปะ “หิริ” แปลว่าความละอายต่อบาป และ “โอตตัปปะ” แปลว่าความกลัวต่อบาป บุคคลผู้มีหิริและโอตตัปปะ มีสติสัมปชัญญะ มีการสำรวมอินทรีย์ ศีลสมบูรณ์ เป็นเครื่องที่ทำให้เกิดปัญญาเห็นตามคว…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
โอกาสดี 4 ประการเพื่อการบรรลุธรรม [6716-3d]
54:45
54:45
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
54:45ขณะ หรือเวลา หรือโอกาส ใน 4 อย่างนี้ ได้แก่ การที่มีพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้น การที่ได้เกิดในพื้นที่หรือประเทศที่มีคำสอนของพระพุทธเจ้า การที่มีสัมมาทิฎฐิ (ความเห็นที่ถูกต้อง) และการที่มีอายตนะ 6 อย่างครบสมบรูณ์ (ไม่พิการ)…โอกาสดีทั้ง 4 ประการ ที่ได้ยากขนาดนี้เกิดขึ้นแล้ว อย่าไปรีรอ อย่าให้ล่วงเลยไปเสีย โอกาสนี้ไม่ได้มีอยู่เรื่อย ๆ ตอนนี้อยู่ในช่วงโปรโม…
…
continue reading
บุคคลผู้ประพฤติปฏิบัติตามธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัสสอนไว้ ผลที่จะพึงหวังได้ คือความผาสุก ซึ่งจะปรากฏเป็นความเบาบางของกิเลส นำไปสู่การสิ้นสุดของการเวียนว่ายตัดภพชาติให้น้อยลงไปตามลำดับ การเดินตามทางนั้นเป็นมรรค เมื่อมาถึงจุดหมายปลายทางแล้วเรียกว่าผลและมีนิพพานเป็นที่สุดแห่งการประพฤติปฏิบัติ พึงเห็นโทษของการเวียนว่ายตายเกิดว่า เป็นสิ่งที่ไม่น่ายินดี พ…
…
continue reading
"กิเลส" เป็นเหตุแห่งทุกข์ต้องละเสีย จึงอ้างอิงในส่วนของอังคุตตรนิการ ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้ในหมวด 6 ว่าด้วยวิธีการละกิเลส อาศัยธรรมหมวด 5 เป็นเหตุทำให้จิตหลุดพ้นจากกิเลสได้ กล่าวคือ การฟังธรรม การเทศน์สอน การทบทวน การคิดใคร่ครวญในธรรม หรือการทำสมาธิ ธรรม 5 อย่างนี้ เมื่อปฏิบัติให้บ่อยแม้ข้อใดข้อหนึ่งก็จะเกิดความรู้ในอรรถธรรมมากขึ้น ส่งผลให้เกิ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
ความมั่นคงและไม่หวั่นไหวแห่งจิต [6713-3d]
59:17
59:17
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
59:17อินทรีย์ 5 และพละ 5 นั้น ต่างมีองค์ประกอบ 5 ประการ คือศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา หากจะเปรียบเทียบ สติ ย่อมเทียบได้กับหัวธนู วิริยะ คู่กับ สมาธิ ช่วยพยุงธนูไว้ ศรัทธา คู่กับ ปัญญา พยุงด้านปลายของธนู หากอินทรีย์หรือพละตัวใดมากไป ธนูนั้นย่อมขาดความสมดุล ไม่สามารถแล่นตรงสู่เป้าหมายได้ กล่าวได้ว่าอินทรีย์ 5 และพละ5 นั้น เหมือนกันโดยองค์ธรรมเพียงแต…
…
continue reading
“สัตบุรุษหรือสัปปบุรุษ” หมายถึง คนดี เป็นผู้ประกอบด้วยสัทธรรม ตามจูฬปุณณมสูตร คือผู้มี “ศรัทธา หิริ โอตัปปะ พหูสุต ความเพียร สติมั่นคง และปัญญา” โดยทั่วไปเราจะพิจารณาว่าใครเป็นคนดี ก็โดยเทียบกับคุณธรรมที่กล่าวนี้ จากมิตรสหายที่บุคคลนั้นคบหา จากความคิด การให้คำปรึกษา วาจา4 การกระทำ ทิฐิความเห็น และทานที่ให้ นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของ “อุบาสกธรรม7” คือ…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
มงคลชีวิต35 # จิตที่ไกลจากกิเลส (6711-3d]
56:48
56:48
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
56:48มงคลชีวิต 4 ข้อสุดท้ายนี้เป็นภูมิจิตของผู้ที่ไกลจากกิเลส กล่าวคือ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม คือ เมื่อถูกโลกธรรมฝ่ายอิฏฐารมณ์มากระทบก็ไม่หวั่นไหวไปตามอารมณ์ที่น่าพอใจน่าปรารถนานั้น และเมื่อถูกฝ่ายอนิฏฐารมณ์มากระทบก็ไม่หวั่นไหวไปตามอารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนานั้น จิตจะเข้าถึงความคงที่อย่างนี้ได้ ต้องประกอบด้วยปัญญาที่เห็นการทำงานของขันธ์ที่เป็นไปตามกฎไตรลัก…
…
continue reading
![Artwork](/static/images/128pixel.png)
1
มงคลชีวิต 34 #เห็นอริยสัจและทำให้แจ้งในนิพพาน [6710-3d]
57:35
57:35
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
57:35ในทางปฏิบัติเราจำเป็นต้องรู้เรื่องอริยสัจไว้บ้าง เพราะเวลาที่เราไปรับรู้เห็นนิมิตอะไรมา เราอาจจะหลงหรือเข้าใจผิดสำคัญว่าตนมีคุณวิเศษหรือได้บรรลุธรรมแล้ว พระพุทธเจ้าได้สละความสุขส่วนพระองค์เพื่อที่จะออกค้นหาศาสตร์ความจริงที่จะช่วยให้คนพ้นจากทุกข์ ความแก่ ความตาย ซึ่งศาสตร์ที่พระองค์ค้นพบนี้เรียก “อริยสัจ 4” การเห็นอริยสัจ (ญาณในอริยสัจ 4) ที่แท้จริง…
…
continue reading