Asdavuth Sagarik สาธารณะ
[search 0]
เพิ่มเติม
ดาวน์โหลดแอปเลย!
show episodes
 
Loading …
show series
 
6 เมษายน 2564 / เล่าเรื่องวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้องกับวงดนตรี “นารีศรีสุมิตร” ซึ่งกำลังจะเกิดขึ้น ลุ้นฟังเดี่ยวเปียโนเพลงพญาโศก โดยครูสุมิตรา สุจริตกุล จากแผ่นเสียงครั่งที่มีรอยปริแตกไปพร้อมๆกัน
  continue reading
 
ชวนชมละครโทรทัศน์เรื่องโหมโรง ทางไทยพีบีเอส ชวนคุยที่มาที่ไป เรื่องราวเบื้องหลังแลอื่นๆ
  continue reading
 
วันที่ 22 มีนาคม 2564 / เล่าเรื่องความคืบหน้า และเชิญชวนติดตาม การประกวดการบรรเลงดนตรีร่วมสมัย”ศรทอง” ถ้วยพระราชทานใน สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารีที่กำลังจะดำเนินการประกวดรอบรองชนะเลิศ ในวันที่ 11 เมษายน ที่จะถึงนี้
  continue reading
 
21 มีนาคม 2564 / ส่งท้ายการประกวดการบรรเลงดนตรีไทย ”ศรทอง” / การวางแผนเตรียมงานถ่ายทำสารคดีชุดใหม่ ในวาระที่ละครโทรทัศน์เรื่อง “โหมโรง” จะถูกนำกลับมาแพร่ภาพอีกครั้ง
  continue reading
 
19 มีนาคม 2564 / เก็บตกความคิดจากงานเสวนา”ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร” จาก อ.อานันท์ นาคคง,ผศ.ดร.สุรพงษ์ บ้านไกรทอง,อ้น เพชรจรัสแสง,เก่ง ธชย ประทุมวรรณ,อ.ไชยชนะ เต๊ะอ้วน
  continue reading
 
17 มีนาคม 2564 / พูดคุยถึงเรื่องราวทางศิลปวัฒนธรรม วรรณกรรม นาฏศิลป์ ที่ถูกนำกลับมาทำใหม่ ท่ามกลางความเห็นที่หลากหลายในโลกโซเชียล
  continue reading
 
วันที่ 13 มีนาคม 2564 / เล่าเรื่องสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงานกับ “ครูช่าง” ชนประคัลภ์ จันทร์เรือง ซึ่งได้รับภารกิจ ในการกำกับละครโทรทัศน์เรื่องใหม่
  continue reading
 
วันที่ 14 มีนาคม 2564 / ลอยชายเรื่องความหมายของการ “ประกวด-ประชัน” อย่างไร เพื่ออะไร ในความสัมพันธ์กับสังคมไทยๆ
  continue reading
 
วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2564 รำลึกเหตุการณ์ ที่ครูประกอบ สุกัณหะเกตุ นำวงดนตรี “เกตุดุริยาคม” ไปบรรเลงที่ “วิทยุศึกษา” ในปี พ.ศ.2531 นับเป็นการบรรเลงดนตรีเป็นครั้งสุดท้ายในชีวิต
  continue reading
 
วันที่ 10 มีนาคม 2564 / วันนี้ในอดีต งานพระราชทานเพลิงศพ ท่านครูหลวงประดิษฐไพเราะ (พ.ศ.2498) และ คุณหญิงชื้น ศิลปบรรเลง (พ.ศ.2538) / โหมโรงการจัดทำหนังสือภาพ วาระ 140 ปี ท่านครู / ประชุมทีมงานเบื้องหลังละครโทรทัศน์เรื่องใหม่
  continue reading
 
วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2564 เวลา 19.45 น. ครบ 67 ปี ของการจากไปของท่านครูหลวงประดิษฐไพเราะ บันทึกอาการป่วยในช่วงเวลา 29 วันสุดท้าย / ฟังเพลงแสนคำนึง จากผืนระนาด “จำปา” ในวาระอนุสรณ์คำนึง
  continue reading
 
วันที่ 5 มีนาคม 2564 “รัฐนิยม” ที่เกี่ยวข้องกับดนตรี มหรสพไทย การห้ามใช้ขื่อเพลงที่ผสมกับต่างชาติ บัตรนักดนตรี ห้ามนั่งเล่นดนตรีกับพื้น เป็นต้น
  continue reading
 
เพลง “แสนคำนึง” เบื้องหลังการบันทึกเสียงที่ใช้ในภาพยนตร์โหมโรง / ที่มา ประวัติ ความพิเศษของบทเพลง / รัฐนิยม สงครามโลก ครั้งที่ 2 อื่นๆ
  continue reading
 
วันที่ 3 มีนาคม 2564 / ว่าด้วยเรื่องของ “เอ้-ระเหยลอยชาย” / คำว่า “โหมโรง” ความหมาย หน้าที่ ประเภท / ที่มาของภาพยนตร์โหมโรง พอสังเขป
  continue reading
 
2 มีนาคม 2564 / โหมโรง” ในตอนแรกด้วยเรื่องเล่าลอยชายภายใน 1 วัน / วางแผน เจรจา กว่าจะเกิดงานกิจกรรมต่างๆ
  continue reading
 
Loading …

คู่มืออ้างอิงด่วน