Artwork

เนื้อหาจัดทำโดย Fatoutkey เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดเตรียมโดย Fatoutkey หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์โดยตรง หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่อธิบายไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal
Player FM - แอป Podcast
ออฟไลน์ด้วยแอป Player FM !

ทำไมมนุษย์ มีแนวโน้มที่กินเกิน เมื่อเป็นอาหารแบบบุฟเฟต์

49:35
 
แบ่งปัน
 

Manage episode 317922907 series 3233261
เนื้อหาจัดทำโดย Fatoutkey เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดเตรียมโดย Fatoutkey หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์โดยตรง หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่อธิบายไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

ทำไมมนุษย์มีแนวโน้มที่จะอิ่มช้า กินเกิน เมื่อเป็นอาหารแบบบุฟเฟต์ รอพบ วิดีโอซีรีส์ สรุปงานวิจัย #3

🧠 สมองที่ควบคุมการกินทั้งแบบ กินเพราะหิว (homeostatic eating) และ ไม่หิวก็กิน (Hedonic eating) มีเรื่องให้สมองส่วนจิตสำนึกของเราแปลกใจเสมอค่ะ

🎂 น้องๆมีอาหารที่ถูกใจกันไหมคะ เห็นเมื่อไหร่ จะถูกดึงดูดให้เข้าไปหาอย่างทัดทานได้ยาก หรือให้ดั้นด้นไปไกลแค่ไหน ต้องไปต่อคิวนานเท่าไร ทนได้ ขอให้ได้กินอาหารโปรดเป็นพอ

❓แต่มันจะเกิดอะไรขึ้นคะ ถ้าทั้งโลกมีอาหารจานโปรดที่น้องๆชอบอยู่เพียงอย่างเดียว น้องๆจะต้องกินอาหารชนิดเดียวนั้นไป 2-3 มื้อตลอดชีวิต

📌 และถ้าให้เลือกระหว่างอาหารจานโปรดจานเดียว กับบุฟเฟต์ที่มีอาหารให้เลือกหลากหลาย ทำไมมนุษย์ชอบอาหารแบบบุฟเฟต์ซะเหลือเกิน และถึงอิ่มแล้วก็ยังกินได้อีกทำให้มีแนวโน้มกินเกินได้

👩🏻‍💻 มาทำความรู้จักกับ Sensory-Specific Satiety (SSS) ผ่านงานวิจัยฉบับสำคัญ ที่พี่ปุ๋มจะมาสรุปให้น้องๆได้เข้าใจว่า

1. Sensory-Specific Satiety คืออะไร มีความสำคัญต่อการกินของมนุษย์อย่างไร

2. ทำไมมนุษย์ชอบกินอาหารแบบบุฟเฟต์ และทำให้อิ่มช้าลงโดยไม่รู้ตัว

3. เราจะมีวิธีจัดการ Sensory-Specific Satiety อย่างไร เพื่อหลีกเลี่ยงการอิ่มช้า กินเกิน โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่มีความไวต่อการการสะสมไขมัน (Obesity sensitive)

สารบัญตามเวลา

00:00 Introduction

06:53 งานวิจัยเรื่องสมองกับการกิน "เรากินเกินได้อย่างไร"

10:35 วงจรประสาทในการควบคุมสมดุลพลังงาน

22:26 Sensory-specific Satiety คืออะไร

36:26 ทำไมมนุษย์ชอบกินอาหารแบบบุฟเฟต์

42:24 วิธีจัดการ Sensory-specific Satiety เพื่อหลีกเลี่ยงการกินเกิน

  continue reading

117 ตอน

Artwork
iconแบ่งปัน
 
Manage episode 317922907 series 3233261
เนื้อหาจัดทำโดย Fatoutkey เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดเตรียมโดย Fatoutkey หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์โดยตรง หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่อธิบายไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

ทำไมมนุษย์มีแนวโน้มที่จะอิ่มช้า กินเกิน เมื่อเป็นอาหารแบบบุฟเฟต์ รอพบ วิดีโอซีรีส์ สรุปงานวิจัย #3

🧠 สมองที่ควบคุมการกินทั้งแบบ กินเพราะหิว (homeostatic eating) และ ไม่หิวก็กิน (Hedonic eating) มีเรื่องให้สมองส่วนจิตสำนึกของเราแปลกใจเสมอค่ะ

🎂 น้องๆมีอาหารที่ถูกใจกันไหมคะ เห็นเมื่อไหร่ จะถูกดึงดูดให้เข้าไปหาอย่างทัดทานได้ยาก หรือให้ดั้นด้นไปไกลแค่ไหน ต้องไปต่อคิวนานเท่าไร ทนได้ ขอให้ได้กินอาหารโปรดเป็นพอ

❓แต่มันจะเกิดอะไรขึ้นคะ ถ้าทั้งโลกมีอาหารจานโปรดที่น้องๆชอบอยู่เพียงอย่างเดียว น้องๆจะต้องกินอาหารชนิดเดียวนั้นไป 2-3 มื้อตลอดชีวิต

📌 และถ้าให้เลือกระหว่างอาหารจานโปรดจานเดียว กับบุฟเฟต์ที่มีอาหารให้เลือกหลากหลาย ทำไมมนุษย์ชอบอาหารแบบบุฟเฟต์ซะเหลือเกิน และถึงอิ่มแล้วก็ยังกินได้อีกทำให้มีแนวโน้มกินเกินได้

👩🏻‍💻 มาทำความรู้จักกับ Sensory-Specific Satiety (SSS) ผ่านงานวิจัยฉบับสำคัญ ที่พี่ปุ๋มจะมาสรุปให้น้องๆได้เข้าใจว่า

1. Sensory-Specific Satiety คืออะไร มีความสำคัญต่อการกินของมนุษย์อย่างไร

2. ทำไมมนุษย์ชอบกินอาหารแบบบุฟเฟต์ และทำให้อิ่มช้าลงโดยไม่รู้ตัว

3. เราจะมีวิธีจัดการ Sensory-Specific Satiety อย่างไร เพื่อหลีกเลี่ยงการอิ่มช้า กินเกิน โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่มีความไวต่อการการสะสมไขมัน (Obesity sensitive)

สารบัญตามเวลา

00:00 Introduction

06:53 งานวิจัยเรื่องสมองกับการกิน "เรากินเกินได้อย่างไร"

10:35 วงจรประสาทในการควบคุมสมดุลพลังงาน

22:26 Sensory-specific Satiety คืออะไร

36:26 ทำไมมนุษย์ชอบกินอาหารแบบบุฟเฟต์

42:24 วิธีจัดการ Sensory-specific Satiety เพื่อหลีกเลี่ยงการกินเกิน

  continue reading

117 ตอน

ทุกตอน

×
 
Loading …

ขอต้อนรับสู่ Player FM!

Player FM กำลังหาเว็บ

 

คู่มืออ้างอิงด่วน