เนื้อหาจัดทำโดย webmaster and วัดป่า ดอนหายโศก ฟังธรรมะ donhaisok เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดเตรียมโดย webmaster and วัดป่า ดอนหายโศก ฟังธรรมะ donhaisok หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์โดยตรง หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่อธิบายไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

ใคร ๆ ก็รักเรา!

รีวิวผู้ใช้งาน

"ปลื้มฟังก์ชันแบบออฟไลน์มาก"
"นี่แหละ "ใช่เลย" วิธีจัดการกับการติดตามพอดคาสต์ที่เราติดตาม และยังเป็นวิธีที่ดีในการสำรวจพอดคาสต์ใหม่ ๆ ด้วย"

ปฏิจจสมุปบาท–การเกิด และการดับอาสวะ (ตอนที่ 9) [6635-3d]

57:56
 
แบ่งปัน
 

Manage episode 375600836 series 2968615
เนื้อหาจัดทำโดย webmaster and วัดป่า ดอนหายโศก ฟังธรรมะ donhaisok เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดเตรียมโดย webmaster and วัดป่า ดอนหายโศก ฟังธรรมะ donhaisok หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์โดยตรง หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่อธิบายไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

พระผู้มีพระภาคทรงได้เคยตรัสกับท่านพระอานนท์ไว้ว่า “ปฏิจจสมุปบาท เป็นธรรมอันลึกซึ้ง” ที่มิอาจจะพึงรู้ได้ด้วยการท่องจำ แต่ต้องอาศัยการพิจารณาโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ให้เห็นด้วยปัญญาเท่านั้น... และนี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำพระองค์เกิดความท้อใจในการที่จะแสดงธรรม

อย่างไรก็ตาม..เราสามารถปฏิบัติให้มีปัญญาที่ละเอียดลึกซึ้งยิ่ง ๆ ขึ้นมาได้ด้วยการปฏิบัติตาม “อริยมรรคมีองค์ 8” จะมีนิพพานเป็นที่สุดจบได้


นาฬิกาแห่งปฏิจจสมุปบาท จิตเปรียบเสมือนเข็มนาฬิกาตรงกลางที่ไปทำหน้าที่เข้าไปรับรู้อาการต่าง ๆ ถ้าเราสามารถกำหนดเห็นภาพนี้ปรากฎขึ้นในใจเราได้ เราก็จะเข้าใจกระบวนการทำงานของจิตกับอาการต่าง ๆ ในปฏิจจสมุปบาทได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น


การเข้าถึงปฏิจจสมุปบาทเพื่อเข้าถึงการดับอาสวะ หรือการทำอาสวะให้สิ้นไปนี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจธรรมชาติของการเกิดทุกข์ และการดับทุกข์เสียก่อน นั่นก็คือ “อริยสัจ 4” เมื่อจิตที่ประกอบด้วยปัญญา (ปฏิบัติตามมรรค 8 เกิดเป็นมรรคสามัคคีขึ้น) เห็นอริยสัจ 4 ด้วยอาการ 12 แล้ว จะยอมรับ และเข้าใจ เกิดความหน่าย คลายกำหนัด ปล่อยวางอุปาทานในขันธ์ 5 ได้ จะทำอาสวะให้สิ้นไปได้ด้วยกระบวนการนี้ ด้วยการทำย้ำ ๆ ทำซ้ำ ๆ (ทำให้เกิดวิมุตติขึ้นมาบ่อยๆ)


ตัวอย่างการเกิดอาสวะ-ดับอาสวะ เช่น:- กลิ่นเหม็นและหอม, ดูซีรี่ย์หนังละคร, การเมือง ล้วนเกิดจากมีผัสสะเป็นเหตุเป็นปัจจัย จึงมีเวทนาที่เป็นสุข หรือทุกข์ และเกิดตัณหา (อยาก/ไม่อยากได้เวทนานั้น) เพลินไปในสังขาร (การปรุงแต่ง) และวิญญาณ (การรับรู้) ไปเรื่อย ๆ ในแต่ละคู่อาการของปฏิจจสมุปบาทจนเชื่อมโยงเป็นสายเกิดอาสวะ เพราะอาศัยอวิชชาอาสวะจึงเกิด และกระบวนการดับอาสวะ คือ เมื่อเกิดเวทนาขึ้นแล้ว เห็นเวทนานั้นด้วยปัญญา ไม่เพลินไปในสังขาร (การปรุงแต่ง) ด้วยการมี “สติ” ในอนุสติ 10 -> สติปัฏฐาน 4 -> โพชฌงค์ 7 อาสวะก็ดับลง “อาสวะเกิดขึ้นได้ก็ตรงเวทนา จะดับอาสวะได้ก็ตรงที่เวทนา”



Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.

  continue reading

284 ตอน

iconแบ่งปัน
 
Manage episode 375600836 series 2968615
เนื้อหาจัดทำโดย webmaster and วัดป่า ดอนหายโศก ฟังธรรมะ donhaisok เนื้อหาพอดแคสต์ทั้งหมด รวมถึงตอน กราฟิก และคำอธิบายพอดแคสต์ได้รับการอัปโหลดและจัดเตรียมโดย webmaster and วัดป่า ดอนหายโศก ฟังธรรมะ donhaisok หรือพันธมิตรแพลตฟอร์มพอดแคสต์โดยตรง หากคุณเชื่อว่ามีบุคคลอื่นใช้งานที่มีลิขสิทธิ์ของคุณโดยไม่ได้รับอนุญาต คุณสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนที่อธิบายไว้ที่นี่ https://th.player.fm/legal

พระผู้มีพระภาคทรงได้เคยตรัสกับท่านพระอานนท์ไว้ว่า “ปฏิจจสมุปบาท เป็นธรรมอันลึกซึ้ง” ที่มิอาจจะพึงรู้ได้ด้วยการท่องจำ แต่ต้องอาศัยการพิจารณาโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) ให้เห็นด้วยปัญญาเท่านั้น... และนี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำพระองค์เกิดความท้อใจในการที่จะแสดงธรรม

อย่างไรก็ตาม..เราสามารถปฏิบัติให้มีปัญญาที่ละเอียดลึกซึ้งยิ่ง ๆ ขึ้นมาได้ด้วยการปฏิบัติตาม “อริยมรรคมีองค์ 8” จะมีนิพพานเป็นที่สุดจบได้


นาฬิกาแห่งปฏิจจสมุปบาท จิตเปรียบเสมือนเข็มนาฬิกาตรงกลางที่ไปทำหน้าที่เข้าไปรับรู้อาการต่าง ๆ ถ้าเราสามารถกำหนดเห็นภาพนี้ปรากฎขึ้นในใจเราได้ เราก็จะเข้าใจกระบวนการทำงานของจิตกับอาการต่าง ๆ ในปฏิจจสมุปบาทได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น


การเข้าถึงปฏิจจสมุปบาทเพื่อเข้าถึงการดับอาสวะ หรือการทำอาสวะให้สิ้นไปนี้ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจธรรมชาติของการเกิดทุกข์ และการดับทุกข์เสียก่อน นั่นก็คือ “อริยสัจ 4” เมื่อจิตที่ประกอบด้วยปัญญา (ปฏิบัติตามมรรค 8 เกิดเป็นมรรคสามัคคีขึ้น) เห็นอริยสัจ 4 ด้วยอาการ 12 แล้ว จะยอมรับ และเข้าใจ เกิดความหน่าย คลายกำหนัด ปล่อยวางอุปาทานในขันธ์ 5 ได้ จะทำอาสวะให้สิ้นไปได้ด้วยกระบวนการนี้ ด้วยการทำย้ำ ๆ ทำซ้ำ ๆ (ทำให้เกิดวิมุตติขึ้นมาบ่อยๆ)


ตัวอย่างการเกิดอาสวะ-ดับอาสวะ เช่น:- กลิ่นเหม็นและหอม, ดูซีรี่ย์หนังละคร, การเมือง ล้วนเกิดจากมีผัสสะเป็นเหตุเป็นปัจจัย จึงมีเวทนาที่เป็นสุข หรือทุกข์ และเกิดตัณหา (อยาก/ไม่อยากได้เวทนานั้น) เพลินไปในสังขาร (การปรุงแต่ง) และวิญญาณ (การรับรู้) ไปเรื่อย ๆ ในแต่ละคู่อาการของปฏิจจสมุปบาทจนเชื่อมโยงเป็นสายเกิดอาสวะ เพราะอาศัยอวิชชาอาสวะจึงเกิด และกระบวนการดับอาสวะ คือ เมื่อเกิดเวทนาขึ้นแล้ว เห็นเวทนานั้นด้วยปัญญา ไม่เพลินไปในสังขาร (การปรุงแต่ง) ด้วยการมี “สติ” ในอนุสติ 10 -> สติปัฏฐาน 4 -> โพชฌงค์ 7 อาสวะก็ดับลง “อาสวะเกิดขึ้นได้ก็ตรงเวทนา จะดับอาสวะได้ก็ตรงที่เวทนา”



Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.

  continue reading

284 ตอน

ทุกตอน

×
 
Loading …

ขอต้อนรับสู่ Player FM!

Player FM กำลังหาเว็บ

 

Player FM - แอป Podcast
ออฟไลน์ด้วยแอป Player FM !

คู่มืออ้างอิงด่วน