Casually สาธารณะ
[search 0]
เพิ่มเติม
ดาวน์โหลดแอปเลย!
show episodes
 
Artwork

1
FOOD FOR THE SOUL

Sittikun Boonitt

Unsubscribe
Unsubscribe
รายเดือน
 
คุยเรื่องอาหาร บางทีคุยเองคนเดียวหรือบางครั้ง "คุยกับเพื่อนเรื่องกับข้าว" เหมือนอยู่ในครัว เพราะเชื่อว่าทุกคนมี passion ถ้าเป็นของที่เอาเข้าปากแล้วอร่อย อาหารคือชีวิตของร่างกาย แต่ใจข้างในก็ต้องการอาหารเสริมเช่นกัน ปฏิบัติการโยงความอร่อยของเมนูอาหารเข้ากับความสุขทางจิตใจ น้ำลายสอเต็มปากพร้อมกับความชุ่มฉ่ำทางหัวใจของทุกคน "เพราะมนุษย์บำรุงชีวิตด้วยอาหารสิ่งเดียวก็หามิได้" Credit: Jingles, music: โม สุทธิคำ Technician: โม สุทธิคำ Design, Logo: ชลากร บุญอิต Recording Studio: ทะนานถ้วน หลังไมค์ ...
  continue reading
 
Loading …
show series
 
วัฒนธรรมชาติพันธุ์ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติที่ควรได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายHeritage Matters จาก The Standard11 ตุลาคม 2024บทความโดย อภินันท์ ธรรมเสนา ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารสังคมและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)..https://thestandard.co/preserving-thailands-diverse-ethnic-cultures/…
  continue reading
 
ชุมชนและวัฒนธรรมต้องมาก่อนในงานบูรณะเมืองเก่าHeritage Matters จาก The Standard10 พฤษภาคม 2024บทความโดย สิรินยา วัฒนสุขชัยhttps://thestandard.co/community-culture-priority-in-old-town-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม: การลงทุนอันก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณะHeritage Matters จาก The Standard11 เมษายน 2024บทความโดย ไบรอัน เมอร์เทนส์https://thestandard.co/opinion-cultural-assets/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การปกป้อง ‘เมืองโบราณศรีเทพ’ คือการปกป้องผู้คน ไม่ใช่แค่โบราณสถานHeritage Matters จาก The Standard16 มีนาคม 2024บทความโดย พชรพร พนมวัน ณ อยุธยาhttps://thestandard.co/protecting-the-ancient-si-thep-city/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การบูรณะอาคารประวัติศาสตร์: รักษาอาคารเก่าด้วยความเข้าใจการก่อสร้างHeritage Matters จาก The Standard8 มีนาคม 2024บทความโดย ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตรhttps://thestandard.co/historical-building-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ ​13 -​ มิติวัฒนธรรมใน COP28: ลดโลกร้อนด้วยมรดกวัฒนธรรมทำอย่างไรบทความโดย จารุณี คงสวัสดิ์Heritage Matters จาก The Standard26 มกราคม 2024https://thestandard.co/cop28-by-cultural-heritage/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 12 - ‘มรดกบาดแผล’ ประวัติศาสตร์ของความสูญเสียและความทรงจำอันเจ็บปวดที่ยังมีชีวิตอยู่บทความโดย ดร.ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูลhttps://thestandard.co/heritage-matters-tak-bai-incident/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 11 - การพัฒนาจะเคารพผู้อยู่อาศัยในเมืองจริงหรือ?บทความโดย ก้อง ฤทธิ์ดีhttps://thestandard.co/will-the-development-really-respect-the-citys-residents/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 10 - หลวงพระบางต้องการการคุ้มครอง ไม่ใช่เขื่อนความเสี่ยงสูงบทความโดย Tom Fawthrophttps://thestandard.co/luang-prabang-needs-protection/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 9 - เมืองเก่ากาญจนบุรี มรดกทางประวัติศาสตร์ การรื้อฟื้น อนุรักษ์ และพัฒนาบทความโดย: วีระพันธุ์ ชินวัตรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 8 - ‘สถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่’ ประวัติศาสตร์ที่ยังมีชีวิตบทความโดย: วีระพล สิงห์น้อยโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 7 - ประวัติศาสตร์รถไฟไทย รักษาไว้อย่าให้ตกรางบทความโดย: รศ. ปริญญา ชูแก้วโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 6 - ช่องโหว่ใน พ.ร.บ.ภาษีฯ จุดเริ่มต้นของการทำลายธรรมชาติบทความโดย: รศ.ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 5 - วัฒนธรรมและสภาพภูมิอากาศเป็นของคู่กันบทความโดย: โยฮันเนส วิโดโดPhoto: CC BY SA 4.0 by Khaosamingโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 4 - การหาแนวทางแก้ปัญหาอุทกภัย โดยอาศัยมรดกเป็นพื้นฐานบทความโดย: มณฑิรา หรยางกูร อูนากูลโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 3 - ดีบุกไทย: ขุดค้นประวัติศาสตร์ที่แท้จริงของเราผ่านมรดกทางอุตสาหกรรมบทความโดย: ดร.รังสีมา กุลพัฒน์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 2 - มรดกชุมชนที่หลุดมือ เมื่อ กทม. ขาดกฎหมายอนุรักษ์บทความโดย: รศ.ดร.ยงธนิศร์ พิมลเสถียรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 1 - ‘เราพยายามได้มากกว่านี้’ มรดกทางวัฒนธรรมของไทยต้องไม่สูญหายบทความโดย: พิไลพรรณ สมบัติศิริ นายกสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
7 เดือนกับ 27 ตอนของ FFTS แล้วก็เดินทางด้วยกันมาถึง final episode ของ season 1 เลยอยากจะเล่าไปเรื่อยถึงทริปขึ้นเหนือส่งท้ายปี เปลี่ยนที่นอนทุกวัน แต่ที่เด็ดคือของกินแบบสุดติ่ง เด็ด อร่อย หลากหลาย ขนมจีนจ้าวดังแห่งจังหวัดตาก อาหารเวียดนาม หมูปิ้งอุ๊ยพร ข้าวหลามเชียงดาว เนื้อจระเข้ผัด อาหารพื้นบ้านลีซู ข้าวซอยพี่แมวโป่งแยง ลาบไก่บ้านโฮ่ง อาหารไต้หวัน…
  continue reading
 
ปลาเค็มเป็นเมนูของโปรดที่กินได้กับทุกวาระและโอกาส ยีกับข้าวต้ม คลุกกับข้าวสวย ยำกับปลากระป๋อง ผัดกับข้าว หรือเอาไปคั่วทานกับสปาเกตตี้พริกแห้งก็ยิ่งแซ่ป คราวนี้จะพูดคนเดียว เพราะเดินเข้าไปในครัวในขณะที่แม่ครัวเก่าแก่ของเพื่อนกำลังทอดปลาเค็มสำหรับมื้อเย็นพอดี เพื่ออรรถรสก็ขอให้บรรยากาศในครัวอัดพอตแคสซะเลย - "จงเป็นเกลือแห่งแผ่นดินโลก"…
  continue reading
 
Casual talk กับคุณชาวดี นวลแข - Food Jounalist เจ้าของ, ผู้เขียนและผู้รวบรวม "Thailand's Best Street Food" หนังสือที่แนะนำอาหารข้างทางของไทยอย่างครบถ้วนให้กับชาวโลก เรียกว่าเป็นหนังสือภาษาอังกฤษเล่มเดียวของโลกที่เป็นฑูตทางอาหารการกินข้างทางที่เสมือนเป็นชีวิตประจำวันของคนไทยทั่วไปนอกจากนั้นคุณชาวดี ยังปรากฎตัวใน Netflix รายการ "Street Food" ตอนของกร…
  continue reading
 
สรุปตอนจบของบ่ายวันหนึ่งคุยกับเชฟพฤกษ์ จากฉายา "กงยูเมืองไทย" เส้นทางของการเป็นแชมป์เชฟกระทะเหล็ก ไปจนถึงธุรกิจด้านอาหารร่วมกับภรรยา เชฟน้ำเชื่อม ประทับใจจากการพูดคุยด้วยความถ่อมตัวและการทำงานร่วมกันกับภรรยาสนับสนุนเอื้อซึ่งกันและกันในฐานะ "คู่พระพร"
  continue reading
 
โอกาสที่หาไม่ได้ง่ายๆกับการเปิดใจคุยกับ เชฟพฤกษ์ สัมพันธวรบุตร หนึ่งในเจ้าของตำแหน่งแชมป์เชฟกระทะเหล็กประเทศไทย คุยถึงชีวิต งาน และการต่อสู้ฝ่าฟันกว่าจะมาถึงวันนี้ของพ่อครัวผู่เชี่ยวชาญอาหารฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศ แต่เชื่อไหมว่าระหว่างการคุยกันเชฟเต็มไปด้วยความถ่อมตัวซึ่งหาได้ยากสำหรับคนที่ขึ้นมาอยู่ในระดับนี้ พลาดไม่ได้นะครับ ขอบอก…
  continue reading
 
คุณโด่ง อนันต์ จิตรกรชาวลำปางจากคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ขนมจีนน้ำเงี้ยวโฮมเมดสูตรใส่คากิ กากหมูกรอบเจียวเอง ความสุขและอิ่มใจจากการผสมผสานชีวิตและงานศิลปะเข้ากับมิติของการทำอาหารพื้นเมืองล้านนา เปิดประตูบ้านกินกันเป็นการรวมใจเพื่อนพี่น้อง ตัวอย่างของพระเยซูในการใช้โต๊ะอาหารและของกินบนโต๊ะเพื่อสร้างเสริมให้กำลังใจซึ่งกันและกัน ช่วงที่สอ…
  continue reading
 
คุยกับคุณอรช บุญ-หลง นักกิจกรรมด้านศิลปะวัฒนธรรมและผู้เคลื่อนไหวด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งเชียงใหม่ คุยริมแม่น้ำปิงเรื่องบรรทัดฐานในการกินดี อยู่ดี แบบ healthy eating & living ในประเด็น organic food, การบริหารจัดการเวลาการกิน, การเลือกวัตถุดิบการบริโภคอาหาร และการใช้ชีวิตแบบความสุขพลังบวก ชีวิตหลังกลับจากปารีส “อรช บุญ-หลง” ไม่อยากทำงานในกรุงเทพฯ …
  continue reading
 
มาถึงตอนจบของบทสนทนาสนุกสนานที่เชียงใหม่กับ เบน ชมภูวงศ์ มิติของนักกีตาร์กับการตอบคำถามแบบไม่ได้เตี๊ยมให้จับคู่ genre ของดนตรีกับ ingredients ของขนมปัง แป้ง น้ำ ยีสต์ เกลือ และจากคนที่เป็น introvert และซึมเศร้าได้ทั้งดนตรีและขนมปังเป็นเครื่องมือเยียวยาชีวิต
  continue reading
 
มหัศจรรย์ ของ Sourdough หรือจ้าวแห่งขนมปัง - คุยกับ เบน ชมภูวงศ์ (LJ) - Producer และมือกีตาร์วง Kobe และ Ongor นักดนตรีที่มีบทบาทในวงการดนตรีเชียงใหม่ คุยเรื่อง ชีวิต ผลงาน และการทำขนมปังเพื่อสร้างความสมดุลย์ให้กับชีวิตและเยียวยาจิตใจตัวเอง
  continue reading
 
ด้วยความเป็นแฟนคลับข้าวต้ม เลยอยากจะคุยเรื่องข้าวต้มเครื่อง อะไรคือ "เครื่อง" ในข้าวต้มเครื่อง? พาไปคุยกับป้ามลคนทำข้าวต้มเนื้อวัวด้วยใจแค่ปีละครั้ง ไม่ขายแต่ตักแจกฟรี คนรอทานตรึมมากว่า 30 ปี ครั้งแรกของเปิดสูตรแบบหมดเปลือกและการปรุงข้าวต้มด้วยใจ แบบอย่างของการให้อย่างไม่หวังผลตอบแทน
  continue reading
 
ชั่วโมงแห่งการสนทนาวิธีการละเลียดจิบไวน์เคล้ากับดนตรีได้อย่างถูกจริตกับ คุณอนันต์ ลือประดิษฐ์ ผู้ก่อตั้ง online platform "The People" และกูรูสายดนตรีที่ชื่นชอบไวน์เป็นพิเศษ ไวน์ชนิดไหนดื่มคู่กับดนตรีประเภทใด? ที่มาที่ไปของไวน๋ชนิดต่างๆ และ blindfold test จับคู่อัลบั้มแจ๊สอมตะ 3 อัลบั้มกับไวน์สามขวด และการก้าวข้ามสู่ความเชื่อแบบไม่สงสัย…
  continue reading
 
เนื้อดรายเอจด์คืออะไร? และเมนูเด็ดแบบพรีเมี่ยมของร้าน เรื่องราวการเดินทางและการฝ่าฟันร่วมกันของ เชฟแทน และคุณป่าน กว่าจะมาเป็นร้านขายเนื้อที่สื่อต่างพากันมารีวิวชิม ร้านบ่มเนื้อวัวที่ต้องรอคิวจองโต๊ะข้ามเดือน พรแน่นพูนล้นที่ไหลกลับจนเต็มล้นจากการให้อย่างเต็มใจ
  continue reading
 
เว้าเรื่องอาหารอิสาน - ที่มาที่ไปของเมนูดัง "ส้มตำ" - ปฎิบัติการณ์พลิกชีวิตของคู่สามีภรรยา จากดีเจชื่อดังและพนักงานโรงแรมห้าดาว สู่เจ้าของกิจการ "คอหมูย่าง" นัวๆ กับคอหมูพรีเมี่ยมแทรกมันลายหินอ่อน น้ำจิ้มแจ่วแซ่ปหลาย และข้าวญี่ปุ่นนุ่มหนุบ เคล็ดวิธีการปรุง หั่น หุง หมัก ส่วนผสมของ "เทพจ้าวคางหมูย่อ" สิ่งที่วันนั้นคิดว่าเป็นไปไม่ได้มาเป็นไปได้ในวันน…
  continue reading
 
เปลี่ยนความเข้าใจเรื่องการกินและกินอย่างมีสติ คุยกับโภชนากรสาวสวย โค้ชเพลง แห่ง TENFIVE Nutrition "กินทุกอย่างที่ชอบยังไงแล้วยังหุ่นปังได้?" และ บทเรียนเรื่องสุขภาพจากหมอฟันยุนฮเยจิน จากซีรีส์ดัง Home Town Cha Cha Cha เพื่อปรับสมดุลย์ระหว่างสุขภาพและหน้าที่การงานอย่างเหมาะสม
  continue reading
 
คุณโบวลิ่ง กับ"ข้าวมันไก่ฉ่ำ" ที่มีคนติดตามรอคอยการกลับมาเยอะมากกก สัมภาษณ์เคล็ดลับกลวิธีปรุงวัตถุข้าวมันไก่จานเด็ด ตั้งแต่เนื้อไก่ การคัดเลือก ต้ม สับ ข้าวมัน การเคี่ยว กวน หุง น้ำจิ้มซีอิ้ว น้ำจิ้มเต้าเจี้ยว น้ำซุปใส่ฟักและเก๋ากี้ ไม่ยากที่จะทำเป็น แต่... ไม่ง่ายที่จะทำให้อร่อย ฟังแล้ว overload ต่อมน้ำลาย 😮😮😮 พลาดไม่ได้!!!! อย่าลืม คำว่า "passion…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 154 วันที่ 24 สิงหาคม 2564 - ศพ ‘สุภาพสตรีกับดาบ’ อายุพันปี อาจไม่ใช่ ‘ผู้หญิง’ ...แต่เป็น ‘ผู้ชาย’ ที่มีโครโมโซมแตกต่าง - หลักฐานการใช้ไฟแสดงการแพร่วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นเมื่อ 400,000 ปีก่อน - นักโบราณคดีขุดพบเทวรูปอายุ 1,600 ปีในพรุที่มณฑลรอสคอมมอน - หลักฐานเชิงประจักษ์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล…
  continue reading
 
เวลาคุยกับใครเรื่องอาหารญี่ปุ่นมักจะชอบดิกดีพถึงวัตถุดิบ ถ้าขุดกันถึงแหล่งที่มายิ่งมงลง คราวนี้คุยกับคุณโอ๊ตผู้ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นจับพลัดผลูต้องมาทำร้านอาหารญี่ปุ่น ย่านท่าทราย นนทบุรี ขุดกันถึงที่กับเมนูซิกเนเจอร์ของร้าน - ซาบะดองย่างไฟ, ข้าวหน้าปลาดิบรวมดั้งเดิม คุยต่อลงลึกถึงที่มาของวัตถุดิบ rare items และชนิดของ ไข่หอยเม่…
  continue reading
 
ต๊าชมากกับการคุยกับเพื่อนเรื่องกับข้าว กับผู้วิจัย "หมูแดงหมูกรอบ" จนเป็นกิจการเสริมได้รายได้ เผยเคล็ดลับลึกๆตั้งแค่เลือกเนื้อหมู การหมัก การปรุง การย่าง จนออกมาเป็นเมนูสุดของ "หมูแดงแมน" ทิ้งท้ายด้วยข้อคิดให้กำลังใจจากปากเจ้าของร้านเองใน ep นี้
  continue reading
 
😮 อ้าปากค้างกับมูลค่าและรสชาติของกระเพาะปลาสด คุยออกรสในห้องอัดครั้งแรกกับแขกรับเชิญผู้เชี่ยวชาญในการปรุงซุปกระเพาะปลาสด รวมถึงการเลือกซื้อและเคล็ดลับในการเฟ้นหาวัตถุดิบคุณภาพดีสุด บำรุงร่างตามด้วยวิตามินบำรุงใจจากคุณค่าอันเกินพอเพียงแก่ชีวิต
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 153 วันที่ 10 สิงหาคม 2564 - อ่างทองสำรวจพบสุสาน 3,000 ปี แหล่งฝังศพยุคก่อนประวัติศาสตร์ - พบ ‘ซากกำแพงเมืองโบราณ’ ของเยรูซาเล็มที่ถูกทำลายเมื่อ 2,600 ปีก่อน - การใช้โบราณคดีเพื่อเพิ่มความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - เผยผลศึกษาขุดค้นแหล่งโบราณคดี ร.ร.วัดท่าโป๊ะ เป็นแหล่งฝังศพสมัยสำริด - งานวิจัยใหม่เผย มาชูปิกชูเก่าเกินค…
  continue reading
 
มารู้จักวัตถุดิบ rare item ในก๋วยจั๊บน้ำใสจ้าวดังแห่งย่านแม้นศรี สภาพร้านไม่ชวนนั่ง แต่แค่ได้กลิ่นน้ำซุปพริกไทยก็ลืมทุกสิ่ง ตักเข้าปากก็ลืมทุกอย่าง ปลื้มปริ่มประโยคกินใจของเจ้าของร้านกับการลากเส้นต่อจุดการเดินทางของชีวิต
  continue reading
 
ความเห็นส่วนตัวเท่าที่ได้ไปลองโซ้ยที่สุดของสองร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อวัว น้ำเข้มหนึ่ง น้ำใสหนึ่ง ดั้งด้นไปทานและซื้อกลับบ้านในวันฝนตกเป็นฟ้ารั่วและเคล็ดลับการขับรถฝ่าฝนในชั่วโมงที่ทัศนวิสัยเกือบๆเป็นอัมพาต
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 152 วันที่ 27 กรกฎาคม 2564 - เผยผลศึกษาซากคนโบราณพบที่ญี่ปุ่น เป็นเหยื่อถูกฉลามทำร้ายจนตายราว 3 พันปีก่อน - กัญชาถูกนำมาเป็นไม้เลี้ยงเมื่อ 12,000 ปีมาแล้ว - ดูผลทดลองรักษาผู้ป่วยวัณโรคใน “ถ้ำแมมมอธ” ยุคศตวรรษที่ 19 จากความเชื่อว่าอากาศในถ้ำบำบัดโรคได้ - แมลงพันธุ์ใหม่ ในก้อนอึญาติไดโนเสาร์อายุ 230 ล้านปี…
  continue reading
 
ย้อนคิดถึงร้านอาหาร "กุ๊กช็อป" ภัตตาคารอาหารฝรั่ง-จีนไหหลำ และเมนูโปรดที่ชื่นชอบสมัยเป็นเด็ก ร้านในอดีตซึ่งปัจจุบันพากันปิดตัวถาวรไปหมดแล้ว ไม่มีอะไรยั่งยืนภายใต้ดวงอาทิตย์และวิธีการตัดสินใจทำทุกสิ่งอย่างมี peaceful mind.
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 151 วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 - ยุทธนาวี “แส็กเกิ่ม-สว่ายมู้ด” สงครามการปราชัยครั้งใหญ่ของสยาม ซึ่งแทบไม่เคยถูกกล่าวถึง - ค้นพบกะโหลกศีรษะของ "มนุษย์มังกร" ชี้เป็นญาติใกล้ชิดที่สุดกับโฮโมเซเปียนส์ - นักวิจัยพบหลักฐาน “โคโรน่าไวรัส” มีแนวโน้มระบาดในเอเชียตะวันออกเมื่อ 2 หมื่นปีก่อน - ซากโบราณสถานมหึมาในเมืองนาระอาจเคยเป็นตำหนัก…
  continue reading
 
เจอศักดิ์ศรีของปลา "เก๋าแดง" โดยไม่ตั้งใจที่เฮียหวานข้าวต้มปลา ถนนจันท์ ลืม "เก๋า" ลืม "กะพง" ไปเลย บทสนทนาว่าด้วยต้มยำน้ำข้นหัวปลาและการฝ่าฟันฝ่าวิกฤติชีวิตแบบตกน้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้
  continue reading
 
ความหลังครั้งประถมกับอาแป๊ะขี่จักรยานขาย "จุ๋ยก้วย" ไชโป้วหมูสับในกระทะทองเหลืองและแป้งถ้วยในซึ้งหน้าโรงเรียนเก่า กับการได้กลับมาลิ้มรสความหลังอีกครั้งฝีมือคุณหวาน โดยปรับสูตรสุขภาพเพื่อลูกจากคุณแม่ เรื่องราวของการให้ผ่านทางขนมจุ๋ยก้วยและการ Give Thanks :)
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 150 วันที่ 22 มิถุนายน 2564 - นักวิจัยเผย ‘ความบังเอิญสุดเร้นลับ’ ระหว่างวัฒนธรรมซานซิงตุย-มายาโบราณ - แกนนำทวงคืน 2 ทับหลัง แนะทำจำลองติดตั้งโบราณสถาน ของจริงเก็บในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น - เสฉวนพบซากกระท่อม ทำจากไผ่-โคลน เก่าแก่ 4,500 ปี - ค้นพบรูปสลักสัตว์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในสกอตแลนด์…
  continue reading
 
ไปไหนไม่ได้ก็เที่ยวทิพย์ไปก่อน ตลาดชะอำกับร้านข้าวแกง แผงอาหารทะเลสดริมหาด ดั้งด้นขับรถไปหาดเขาเต่ากับร้านเก่าแก่ - ปลาสำลีทอดน้ำ - แกงป่าปลาเห็ดโคน - เนื้อสันผักชี อาหารอร่อยขึ้นอีกสิบเท่าเมื่อทานกับเพื่อนสนิท ปิดท้ายด้วยการแนะนำเพื่อนแท้คนหนึ่งที่จะไม่ทิ้งคุณถ้ายอมรับเค้าเป็นเพื่อน
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 149 วันที่ 8 มิถุนายน 2564 - ซากลูกหมาป่าอายุกว่า 57,000 ปี ถูกพบในชั้นดินเยือกแข็งของแคนาดา - ย้อนรอยโรคระบาดจากโบราณคดี ต้นตอโรคร้ายที่มาจากมนุษย์ - พบอนุสรณ์สงคราม 4,300 ปีเก่าแก่ที่สุดในโลกโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
จากเพื่อนเด็กเกรียนแห่งเตรียมอุดมฯ สู่การเป็นเชฟเจ้าของร้านอาหารเล็กๆในปากน้ำโพ กับ การเคี่ยวกรำเมนู เนื้อวัวเทพระดับ masterpiece ทั้ง 5 ของเค้า - มัสมั่นเนื้อวากิว - เนื้อโคขุนตุ๋นอารมณ์ดี - เขียวหวานเนื้อน่องลายพริกขี้หนู - แกงพะแนงเนื้อโคขุน - เนื้อโคขุนผัดซอส XO...
  continue reading
 
ข้าวไข่เจียวฝีมือลุงสิงห์คำ มหกรรมนั่งเสื่อผนังเป็นป่าดวงดาวบนฟ้าเป็นเพดาน ล้อมวงสวาปามไข่ 30 ฟอง บนความสูง 2 พันกว่าเมตรของดอยหลวงเชียงดาว ความสุขเรียบง่ายในเวลาที่เลือกกินไม่ได้ แต่เคล็ดของความอร่อยอยู่ที่นั่น #แบกตามดอยด์ #ไข่เจียว #ไข่เจียวราดข้าว #foodforthesoulpodcast
  continue reading
 
Loading …

คู่มืออ้างอิงด่วน