Readers สาธารณะ
[search 0]
เพิ่มเติม
ดาวน์โหลดแอปเลย!
show episodes
 
Artwork

1
TK Podcast

TK Park

Unsubscribe
Unsubscribe
รายเดือน
 
สารพันเรื่องราวว่าด้วยพื้นที่การเรียนรู้สร้างสรรค์และการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จุดประกายแนวคิดว่าด้วยอนาคตห้องสมุดและการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล
  continue reading
 
Loading …
show series
 
ห้องสมุดประชาชนเมืองโคโลญจน์ให้ความสำคัญกับการเข้าถึงหนังสือและการอ่าน เครือข่ายห้องสมุดประกอบไปด้วยห้องสมุดกลาง ห้องสมุดสาขาย่อยอีก 11 แห่ง และ MINIBIB หรือห้องสมุดขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังมีรถห้องสมุด และจักรยานไฟฟ้าซึ่งทำหน้าที่เป็นเมกเกอร์สเปซเคลื่อนที่ให้บริการคนในชุมชน .ฮันเนลอร์ โวกท์ ผู้อำนวยการห้องสมุด ตระหนักดีว่าบรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่จำเป็…
  continue reading
 
มูลนิธิวัฒนธรรมยุโรป (The European Cultural Foundation) ริเริ่มโครงการ The Europe Challenge ที่ส่งเสริมให้ห้องสมุดและชุมชนร่วมมือกันแก้ไขปัญหาในพื้นที่ โครงการที่ผ่านการคัดเลือกจะได้รับเงินสนับสนุนจำนวน 10,000 ยูโร รวมถึงคำปรึกษาและการอบรมพิเศษ มีห้องสมุดและชุมชนต่างๆ เข้าร่วมโครงการแล้วเกือบ 100 แห่ง ทั้งห้องสมุดขนาดใหญ่ ห้องสมุดในเรือนจำ ห้องสมุด…
  continue reading
 
ห้องสมุดในบางประเทศได้รับการส่งเสริมสนับสนุนด้านงบประมาณและการสร้างเครือข่ายจากนโยบายระดับประเทศ ระดับเมือง หรือบางครั้งก็ระดับนานาชาติ แม้ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมาย นโยบาย หรือแผนแม่บทที่ช่วยกำหนดทิศทางและสนับสนุนการทำงานของห้องสมุดอย่างเป็นรูปธรรม แต่ห้องสมุดหลายแห่งก็ปรับภารกิจเป็นเชิงรุก มุ่งทำงานเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม โดยเริ่มต้นจากกิจกรรมเล็กๆ ง่…
  continue reading
 
วัฒนธรรมชาติพันธุ์ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติที่ควรได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายHeritage Matters จาก The Standard11 ตุลาคม 2024บทความโดย อภินันท์ ธรรมเสนา ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารสังคมและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)..https://thestandard.co/preserving-thailands-diverse-ethnic-cultures/…
  continue reading
 
“หากต้องการสร้างเด็กให้เป็นคนช่างสงสัย พวกเขาต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยผู้ใหญ่ที่ใคร่รู้”.นี่คือ ข้อเสนอของ ดร.จูดี้ ฮัลเบิร์ต และ ดร.ลินดา เคเซอร์ ผู้ก่อตั้งเครือข่ายการศึกษาแบบสืบเสาะและการศึกษาพื้นถิ่น (NOIIE) ประเทศแคนาดา ทั้งคู่เคยสอนหนังสือและดำรงตำแหน่งครูใหญ่ในโรงเรียนมัธยมก่อนที่จะย้ายมาทำงานสายวิชาการที่มหาวิทยาลัยบริติชโคลัมเบีย …
  continue reading
 
ชุมชนและวัฒนธรรมต้องมาก่อนในงานบูรณะเมืองเก่าHeritage Matters จาก The Standard10 พฤษภาคม 2024บทความโดย สิรินยา วัฒนสุขชัยhttps://thestandard.co/community-culture-priority-in-old-town-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม: การลงทุนอันก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณะHeritage Matters จาก The Standard11 เมษายน 2024บทความโดย ไบรอัน เมอร์เทนส์https://thestandard.co/opinion-cultural-assets/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การปกป้อง ‘เมืองโบราณศรีเทพ’ คือการปกป้องผู้คน ไม่ใช่แค่โบราณสถานHeritage Matters จาก The Standard16 มีนาคม 2024บทความโดย พชรพร พนมวัน ณ อยุธยาhttps://thestandard.co/protecting-the-ancient-si-thep-city/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ห้องสมุดทั่วสิงคโปร์นอกจากดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่แล้ว ยังได้รับความช่วยเหลือจากอาสาสมัคร ซึ่งมีบทบาทด้านการดูแลพื้นที่ แนะนำการใช้งาน และจัดกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมเล่านิทานซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุด.‘อาสาดูแล’ คือโมเดลที่ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริการห้องสมุดแบบ 100% และ library@chinatown คือห้องสมุดแห่งแรกที่เริ่มใช้โมเดลอาสานี้มาดำเ…
  continue reading
 
การบูรณะอาคารประวัติศาสตร์: รักษาอาคารเก่าด้วยความเข้าใจการก่อสร้างHeritage Matters จาก The Standard8 มีนาคม 2024บทความโดย ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตรhttps://thestandard.co/historical-building-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ ​13 -​ มิติวัฒนธรรมใน COP28: ลดโลกร้อนด้วยมรดกวัฒนธรรมทำอย่างไรบทความโดย จารุณี คงสวัสดิ์Heritage Matters จาก The Standard26 มกราคม 2024https://thestandard.co/cop28-by-cultural-heritage/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
เมื่อปี 2009 ชายชื่อว่า ท็อด โบล ซึ่งอาศัยอยู่ในรัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา สร้างกล่องหนังสือใบเล็กๆ วางไว้ละแวกบ้านเพื่อเป็นเกียรติแก่มารดาของเขา สิ่งที่ดูเหมือนเล็กน้อยได้สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้คนมากมาย จนเกิดเป็นโครงการ Little Free Library หรือ ‘ตู้ปันอ่าน’ ปัจจุบันตู้หนังสือลักษณะนี้ขยายตัวออกไปทั่วโลก จนมีมากกว่า 150,000 แห่ง ใน 115 ประเทศ แม้…
  continue reading
 
ตอนที่ 12 - ‘มรดกบาดแผล’ ประวัติศาสตร์ของความสูญเสียและความทรงจำอันเจ็บปวดที่ยังมีชีวิตอยู่บทความโดย ดร.ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูลhttps://thestandard.co/heritage-matters-tak-bai-incident/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 11 - การพัฒนาจะเคารพผู้อยู่อาศัยในเมืองจริงหรือ?บทความโดย ก้อง ฤทธิ์ดีhttps://thestandard.co/will-the-development-really-respect-the-citys-residents/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ไม่กี่ปีที่ผ่านมา จีนเปิดตัวห้องสมุดหลายแห่งซึ่งสร้างกระแสฮือฮาในโลกอินเทอร์เน็ต ห้องสมุดกลายเป็นหมุดหมายห้ามพลาดสำหรับนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะคนวัยหนุ่มสาว เงื่อนไขสำคัญคือ ในปี 2018 กระทรวงวัฒนธรรมและสำนักการท่องเที่ยวของจีน ได้ถูกควบรวมเป็นหน่วยงานเดียวกันชื่อว่า กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวแห่งชาติ ทำให้เกิดการบูรณาการกันอย่างกลมกลืนระหว่างสถา…
  continue reading
 
หนังสือราคาแพงเกินไปหรือไม่?.หนังสือในตลาดมีความหลากหลายมากพอไหม?.นี่คือสองประเด็นที่มักจะถูกหยิบยกมาเอ่ยถึง เมื่อมีการตั้งคำถามว่า “คนไทยมีโอกาสเข้าถึงหนังสือได้มากน้อยแค่ไหน” และ “อะไรคืออุปสรรคในการเข้าถึงหนังสือ”.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Data Storytelling ชุด “LOOK AROUND THE SHELF” รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตลาดหนังสือของไทยในฝั่งผู้ผลิตมานำเสนอให…
  continue reading
 
ตอนที่ 10 - หลวงพระบางต้องการการคุ้มครอง ไม่ใช่เขื่อนความเสี่ยงสูงบทความโดย Tom Fawthrophttps://thestandard.co/luang-prabang-needs-protection/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีซิดนีย์ (UTS) มีแต่อาคารเรียน ไม่มีพื้นที่ว่างและสวน ส่วนห้องสมุดตั้งอยู่นอกมหาวิทยาลัย โจทย์สำคัญคือ จะทำอย่างไรให้นักศึกษาเดินทางไปใช้บริการห้องสมุด โครงการ ‘นักสร้างสรรค์ในพำนัก’ ถูกริเริ่มขึ้นเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้คนและชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มศิลปิน เข้ามาร่วมออกแบบ แก้ปัญหา หรือพัฒนาห้องสมุดให้มีภาพลักษณ์อบอุ่นแล…
  continue reading
 
สมาคมห้องสมุดอเมริกันได้ริเริ่มโครงการ “Library Build Business” ในปี 2020 โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมเจ้าของธุรกิจขนาดเล็กและผู้ประกอบการทั่วประเทศ โครงการนี้เชื่อว่า หากผู้ที่ต้องการตั้งเนื้อตั้งตัวเข้าถึงทรัพยากรที่พวกเขาต้องการ ก็จะสามารถสร้างรายได้เพื่อเลี้ยงดูครอบครัว เมื่อนั้นชุมชนท้องถิ่นก็จะได้รับประโยชน์จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจดังกล่าวด้วย.โคร…
  continue reading
 
ตอนที่ 9 - เมืองเก่ากาญจนบุรี มรดกทางประวัติศาสตร์ การรื้อฟื้น อนุรักษ์ และพัฒนาบทความโดย: วีระพันธุ์ ชินวัตรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีความเหลื่อมล้ำด้านนิเวศการเรียนรู้ อาทิ จำนวนหนังสือที่มีอยู่ในแต่ละบ้าน และการเข้าถึงเทคโนโลยีของเด็กๆ ครอบครัวที่มีฐานะดีกว่าสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้มากกว่าครอบครัวที่ยากจน และหนังสือมีราคาสูง ในขณะที่งบประมาณที่ใช้สำหรับพัฒนาเรื่องการเรียนรู้กลับลดลงอย่างต่อเนื่อง.โจทย์ดังกล่าวนำไปสู่ข้อเสนอเรื่อง ‘กองทุนพัฒนาระบบนิเวศกา…
  continue reading
 
ตอนที่ 8 - ‘สถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่’ ประวัติศาสตร์ที่ยังมีชีวิตบทความโดย: วีระพล สิงห์น้อยโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
โลกเศรษฐกิจไทยในอนาคตกำลังมีความเปลี่ยนแปลงไปใน 3 รูปแบบ คือ โลกเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โลกเศรษฐกิจใส่ใจ ซึ่งเน้นเรื่องของสุขภาพกายและใจ และโลกเศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งเน้นการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม.โลกใหม่ต้องการแรงงานที่มีทักษะแตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง คนจำนวนหนึ่งอาจตกงาน ในขณะที่บางงานเป็นที่ต้องการมากขึ้น เช่น นักวิทยาศาสตร์…
  continue reading
 
“ถ้าเมืองฉลาดแต่คนไม่ฉลาด ก็คงไปด้วยกันไม่ได้ ขณะเดียวกัน ถ้าคนฉลาดแต่เมืองไม่ได้รับการพัฒนาให้ฉลาดด้วย ก็คงมีปัญหาไม่แพ้กัน การจะรักษาข้อดีของเมืองให้คงอยู่ และแก้ไขข้อเสียของเมืองให้หมดไป ต้องมีคนที่กล้าคิด กล้าทำ และฉลาดขึ้นกว่าเดิม ดังนั้นการเรียนรู้จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เมืองฉลาดขึ้น” .อิทธิพลของเทคโนโลยีดิจิทัลรวมทั้ง COVID-19 ได้ผลักดันใ…
  continue reading
 
สังคมไทยถูกอบรมบ่มสอนว่าพุทธศาสนามีความเป็นวิทยาศาสตร์ ช่วยสร้างความภูมิอกภูมิใจในศาสนาพุทธของคนไทยมิใช่น้อย ถึงขนาดกล่าวว่าทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาถูกค้นพบมาก่อนแล้วเมื่อ 2,500 ปีก่อน ซ้ำยังมีความละเอียดลึกซึ้งกว่า.‘พุทธศาสนาแบบเป็นวิทยาศาสตร์ในสังคมไทย การสืบสวนค้นคว้าทางประวัติศาสตร์’ โดยทวีศักดิ์ เผือกสม จะทำให้เราเห็นว่าความเชื่อข้างต้น…
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 7 - ประวัติศาสตร์รถไฟไทย รักษาไว้อย่าให้ตกรางบทความโดย: รศ. ปริญญา ชูแก้วโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (Urban Design and Development Center - UddC) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำวิจัยว่าด้วยการสร้างเมืองบนฐานความรู้ โดยวิเคราะห์โอกาสและข้อจำกัดของประเทศไทยในการขับเคลื่อนสู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ ตามแนวทางของยูเนสโก.นิยามของเมืองแห่งการเรียนรู้ แบบเข้าใจและสื่อสารง่ายๆ คือ เมืองที่ผู้คนสามารถหาคำตอบในสิ่งที่อยากรู้ได้ด้วยตั…
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 6 - ช่องโหว่ใน พ.ร.บ.ภาษีฯ จุดเริ่มต้นของการทำลายธรรมชาติบทความโดย: รศ.ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การสูญเสียคนรักไม่ว่าจะเป็นคู่ชีวิต ลูก พี่น้อง พ่อแม่ ล้วนนำมาซึ่งความโศกเศร้า มนุษย์เสาะแสวงหาวิธีจัดการความเศร้าโศกที่ได้ผล แต่มันไม่เคยมีวิธีใดที่เป็นคำตอบสำเร็จรูป.Julia Samuel นักจิตบำบัดด้านความเศร้า ผู้เขียน ‘Grief Works: Stories of Life, Death and Surviving’ หรือ ‘คู่มือหัวใจสลาย’ บอกเราความโศกเศร้าของผู้สูญเสียคนที่ตนรัก กระบวนการที่ความเ…
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 5 - วัฒนธรรมและสภาพภูมิอากาศเป็นของคู่กันบทความโดย: โยฮันเนส วิโดโดPhoto: CC BY SA 4.0 by Khaosamingโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
รากฐานความคิดในการพัฒนาห้องสมุดและการศึกษาฟินแลนด์ มาจากคำๆ หนึ่งคือ sivistys (อ่านว่า ‘ซีวิสตุส’) เป็นคำที่มีความหมายทั้งในเชิงคุณค่าซึ่งเป็นสากลและความมีเอกลักษณ์เฉพาะในเวลาเดียวกัน อาจมีความหมายว่า Respecting Learning, Thinking, Knowing, Education, Culture, Compassion, Open-mindedness แต่ทั้งหมดนี้สะท้อนความเชื่อและอุดมคติของชาวฟินแลนด์ในเรื่องข…
  continue reading
 
การพักผ่อนก็เหมือนการกินคือคุณขาดมันไม่ได้ โลกการทำงานระบบทุนนิยมสร้างเราเป็นหนูถีบจักร ที่ต้องทำงาน ทำงาน ทำงาน จนหลงลืมว่าเราเป็นมนุษย์ที่ต้องการพักผ่อน การพักผ่อนที่ไม่ใช่เพื่อโปรดักทีฟแบบที่หนังสือแนวพัฒนาตนเองบอก.เราต้องการการพักผ่อนเพื่อพักผ่อน เพื่อปรับคันเร่งชีวิต เพื่ออยู่กับตัวเอง ‘พักผ่อนศาสตร์’ ไม่ใช่หนังสือฮาวทู มันบอกเล่า 10 กิจกรรมจา…
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 4 - การหาแนวทางแก้ปัญหาอุทกภัย โดยอาศัยมรดกเป็นพื้นฐานบทความโดย: มณฑิรา หรยางกูร อูนากูลโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ประเทศฟินแลนด์ เคยเป็นประเทศที่ยากจนที่สุดในยุโรป สามารถแก้ไขความยากจนได้โดยการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ด้วยการศึกษา กลายมาเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาดีและประชาชนมีความสุขที่สุดในโลก มีประชากรเพียง 5.5 ล้านคน แต่สถิติการยืมหนังสือสูงถึงปีละกว่า 85 ล้านเล่ม คิดเป็นการยืมหนังสือเฉลี่ยปีละ 15 เล่มต่อคนต่อปี งบประมาณการลงทุนด้านห้องสมุดประชาชน (Public Library)…
  continue reading
 
มีการค้นพบมากมายบนโลกใบนี้ในสาขาวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปะ ปรัชญา ที่ดูเหมือนไร้ประโยชน์ แต่รู้หรือไม่ ความรู้ที่ไร้ประโยชน์เหล่านี้ขับเคลื่อนโลกและยกระดับคุณภาพชีวิตของเราให้เป็นเช่นทุกวันนี้.หญิงชายจำนวนมากกำลังศึกษาค้นคว้าเพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นส่วนตัว โดยมิได้คำนึงถึงว่าจะนำมันไปใช้ประโยชน์อะไร มักซ์ พลังค์ (Max Planck) ห…
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 3 - ดีบุกไทย: ขุดค้นประวัติศาสตร์ที่แท้จริงของเราผ่านมรดกทางอุตสาหกรรมบทความโดย: ดร.รังสีมา กุลพัฒน์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ผลสำรวจการอ่าน พ.ศ. 2561 โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า แพร่ เป็นหนึ่งใน 10 จังหวัดที่มีนักอ่านมากที่สุด อยู่ในลำดับที่ 7 รองจากจังหวัดใหญ่ ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ภูเก็ต ขอนแก่น สระบุรี อุบลราชธานี.ส่วนผู้ที่ศึกษาประวัตินักประพันธ์ไทย จะทราบกันดีว่า จังหวัดแพร่เป็นบ้านเกิดของนักเขียนชื่อดัง - โชติ แพร่พันธุ์ เจ้าของนามปากกา ‘ยาขอบ’ ผู้เขียนนิย…
  continue reading
 
จะเคยหรือไม่เคยไปเที่ยวญี่ปุ่น เราก็ได้ยินเสมอว่าเมืองต่างๆ ในญี่ปุ่นน่าอยู่แค่ไหน สะอาดสะอ้านเพียงใด มีเสน่ห์น่าค้นหาที่ผสมผสานความเก่าและใหม่เข้าด้วยกัน ทั้งหมดนี้เป็นเพราะคนญี่ปุ่นเป็น ‘คนดี’ กว่าที่อื่น? ไม่ใช่แน่นอน.หากเพราะญี่ปุ่นมีการออกแบบกลไกล โครงสร้าง กฎหมาย และสถาบันที่เกื้อหนุนต่างหาก ‘LOVABLE JAPAN เมืองนี้ที่ (คน) รัก’ พาเราไปรู้จักส…
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 2 - มรดกชุมชนที่หลุดมือ เมื่อ กทม. ขาดกฎหมายอนุรักษ์บทความโดย: รศ.ดร.ยงธนิศร์ พิมลเสถียรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 1 - ‘เราพยายามได้มากกว่านี้’ มรดกทางวัฒนธรรมของไทยต้องไม่สูญหายบทความโดย: พิไลพรรณ สมบัติศิริ นายกสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ที่ผ่านมาการดำเนินงานของห้องสมุดส่วนใหญ่เป็นไปตามความสะดวกของเจ้าหน้าที่มากกว่าจะทำไปเพื่อผู้ใช้งาน ห้องสมุดไม่ได้คุยกับผู้ใช้บริการมากพอหรือค้นคว้าว่าพวกเขามีพฤติกรรมและความต้องการอย่างไร หากมีการทำวิจัย ก็มักเป็นเพียงการสำรวจ การสนทนากลุ่ม และเก็บข้อมูลทางสถิติผู้ใช้งานห้องสมุด ซึ่งผิวเผินเกินไปและยังไม่ได้คำตอบว่าสิ่งที่ผู้ใช้บริการอยากได้จริงๆ …
  continue reading
 
ปี 2513 ภาพยนตร์เรื่อง ‘มนต์รักลูกทุ่ง’ ประสบความสำเร็จล้นหลาม และด้วยอีกหลายปัจจัย เช่น อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อุตสาหกรรมบันเทิง รัฐ ช่วยกันผลิตสร้าง-ผลิตซ้ำภาพจำต่อชนบทไทยให้แช่แข็งอยู่กับความเป็นมนต์รักลูกทุ่ง บรรยากาศสงบงาม ผู้คนน้ำใจดี ใสซื่อ ฯลฯ.‘ลืมตาอ้าปาก จาก “ชาวนา” สู่ “ผู้ประกอบการ”’ ที่สรุปมาจากโครงการวิจัยอีกทีหนึ่งจะทลายภาพความทรงจำ…
  continue reading
 
จังหวัดพะเยาก็มีพื้นที่ปลูกกาแฟ ชาและกาแฟของพะเยาก็มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร แต่ไม่ค่อยมีใครรู้... เป็นที่มาของอีเวนต์กาแฟชื่อ Phayao Coffee & Tea Lovers ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2563.และเพราะงานอีเวนต์นี้นี่เอง ที่ทำให้คนรุ่นใหม่จากหลากหลายสาขาอาชีพ ทั้งที่บางคนไม่เคยรู้จักกันมาก่อน แต่ทั้งหมดมีความชอบเหมือนกันอย่างหนึ่ง คือการทำกิจกรรม จึงได้มีโอกาสพบปะพ…
  continue reading
 
ชีวิตมนุษย์เดินทางจากจุดเริ่มต้นมาไกลมากในแง่เทคโนโลยี เราอยู่ในยุคดิจิทัลที่สามารถพูดคุยกับคนอีกซีกโลกหนึ่งได้โดยไม่ต้องออกจากห้องนอนผ่านสมาร์ตโฟนเครื่องเดียว เทคโนโลยีเปลี่ยนพฤติกรรมมนุษย์ได้ในชั่วระยะเวลาเพียงคนรุ่นเดียว.แต่สมองไม่ได้วิวัฒนาตัวมันได้เร็วขนาดนั้น มันยังคงเป็นสมองที่อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าสะวันนาเมื่อ 100,000 ปีก่อน ซึ่งไม่ได้ถูกออกแบ…
  continue reading
 
ฟังเรื่องราวน่าประทับใจที่เกิดขึ้นในฤดูหนาว จากนิทานภาพเรื่อง じんせつな ともだち (เพื่อนคนสำคัญ) โดย Fang Yiqun และ Tomoyoshi Murayama เรื่องราวแห่งมิตรภาพระหว่างเพื่อนทั้งสี่ คุณกระต่าย คุณลา คุณแพะ และคุณกวาง กับการกินอยู่อย่างพอดี การแบ่งปัน และการมอบความห่วงใยที่ส่งต่อให้กันอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เป็นนิทานที่ให้ความรู้สึกอบอุ่น ดีต่ออารมณ์และจิตใจ…
  continue reading
 
ในอนาคตโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมของโลกจะอ่อนแอและผู้คนมีความโดดเดี่ยวสูงขึ้น กรณีประเทศเดนมาร์กซึ่งมีประชากร 5.5 ล้านคน มีอัตราการเสียชีวิตของประชากรที่อยู่อย่างโดดเดี่ยวเพิ่มขึ้น 800 คนต่อปี และมีผู้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลและต้องการการดูแลสภาพจิตใจเพิ่มขึ้น 19,000 คนแนวคิดเรื่อง ‘เทศะรังสรรค์’ (Place Making) และ ‘พื้นที่สาธารณะ’ (Public Space) …
  continue reading
 
ความขี้เกียจมีจริงหรือเปล่า? เป็นคำถามที่น่าคิด หรือมันเป็นเพียงความหลอกลวงบางอย่างทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ทำไมคนที่ขยันทำมาหากิน แต่ไต่เต้าระดับชั้นทางเศรษฐกิจ-สังคมขึ้นไปไม่ได้ยังถูกมองว่าขี้เกียจ.‘LAZINESS DOES NOT EXIST’ หรือ ‘ผ่อนชีวิต บิดขี้เกียจ’ ตั้งคำถามต่อสิ่งนี้ ต่อ ‘ความขี้เกียจลวง’ ซึ่งทำร้ายผู้คนจำนวนมากในสังคมอเมริกัน ในสังคมไทยก็ติดก…
  continue reading
 
TK Park ชวนฟังนิทานเรื่อง ぽとんぽとんはなんのおと แม่ครับได้ยินเสียงอะไรไหมครับ โดย โทชิโกะ คันซาวะ และ เออิโสะ ฮิรายามะ นิทานแห่งสายใยรักที่เป็นมิตรต่ออารมณ์และความรู้สึกของเด็ก ถ่ายทอดผ่านบทสนทนาระหว่างแม่หมีกับลูกหมีตัวน้อย เพราะเสียงต่างๆ ที่ได้ยินก่อให้เกิดจินตนาการกว้างไกล และกระตุ้นความสนใจได้เป็นอย่างดี…
  continue reading
 
โกรนิงเง่น (Groningen) เมืองเล็กๆ ในประเทศเนเธอร์แลนด์ มีประชากรเพียง 2.3 แสนคน ทว่ามีแหล่งเรียนรู้ทันสมัยขนาดมหึมาตั้งตระหง่านอยู่ใจกลางเมือง คือ ‘Forum Groningen’ ซึ่งได้รับการขนานนามว่าเป็น ‘ห้างสรรพสินค้าวัฒนธรรม’ มีทั้งพื้นที่ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ นิทรรศการ โรงละครศิลปะ ร้านอาหารหรูบนดาดฟ้า และจุดชมวิวที่งดงาม.การบรรยายเรื่อง Library as Key Elem…
  continue reading
 
‘สนิมสร้อย’ นวนิยายตีแผ่ชีวิต เลือดเนื้อ ความเป็นมนุษย์ของเหล่าหญิงคนชั่วหรือโสเภณี และผู้คนที่รายล้อมพวกเธอ-แม่เล้า แมงดา ลูกค้า การลงไปคลุกคลีในสถานที่อโคจร กับวัตถุดิบแห่งงานเขียนของ ’รงค์ วงษ์สวรรค์ ทำให้ ‘สนิมสร้อย’ ฉีกต่างจากวรรณกรรมที่นำเสนอภาพชีวิตของโสเภณีไทยในยุคแรกคือช่วงปี 2480-2509.ทำให้เห็นชีวิตที่ถูกกระทำจากเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน สังคม …
  continue reading
 
Loading …

คู่มืออ้างอิงด่วน

ฟังรายการนี้ในขณะที่คุณสำรวจ
เล่น