เสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางความคิด โดย อาจวรงค์ จันทมาศ
…
continue reading
1
ตอนที่ 36 (Finale) สัมภาษณ์ อาจารย์ กิตติศักดิ์ โถวสมบัติ เรื่องความเชื่อในเชิงปรัชญา และทำไมมนุษย์จึงเชื่อในสิ่งที่ไม่มีจริงได้
33:12
33:12
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
33:12
ความเชื่อนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้มนุษย์ดำรงชีวิตในแนวทางที่แตกต่างกัน ในโลกเรามีคนจำนวนมากมายใช้ประโยชน์จากความเชื่อในแง่ต่างๆ ทั้งในการโน้มน้าวให้ซื้อสินค้าหรือถ้าเป็นด้านลบก็คือการหลอกลวงผู้อื่น รายการวัคซีนตอนนี้ซึ่งเป็นรายการตอนสุดท้ายแล้ว จะพาทุกท่านไปพูดคุยกับอาจารย์ กิตติศักดิ์ โถวสมบัติ ผู้เป็นอาจารย์ด้านปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรา…
…
continue reading
1
ตอนที่ 35 critical thinking (การคิดเชิงวิพากษ์) ทักษะสำคัญแห่งอนาคต
10:02
10:02
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:02
ทักษะการคิดเพื่อวิเคราะห์และตัดสินว่าเราจะเชื่อเรื่องไหนบ้างมีความสำคัญยิ่งในยุคนี้ หนึ่งในทักษะที่ว่าคือ critical thinking (การคิดเชิงวิพากษ์) รายการในตอนนี้จะพาทุกท่านไปรู้จักกับ critical thinking ว่ามันคืออะไร ,จะสร้างขึ้นมาได้อย่างไร และสิ่งใดเป็นอุปสรรคต่อการสร้าง critical thinking บ้าง
…
continue reading
1
ตอนที่ 34 ประวัติศาสตร์เทียม (Pseudohistory) กลุ่มข่าวปลอมด้านประวัติศาสตร์ที่ขาดหลักฐานหนักแน่น
10:13
10:13
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:13
ประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตซึ่งแบ่งออกเป็นหลายด้าน แต่ในภาพรวม นักประวัติศาสตร์ใช้การเก็บรวบรวมหลักฐานจำนวนมาก มาพิจารณาประกอบกันจนเกิดเป็นแนวทางหลัก อย่างไรก็ตาม เหล่าผู้ที่เชื่อในทฤษฎีสมคบคิด หรือวิทยาศาสตร์เทียม อาจสร้างเรื่องราวที่เรียกว่า ประวัติศาสตร์เทียม ขึ้นมา โดยไม่ได้มีหลักฐานที่หนักแน่นรองรับ รายการในตอนนี…
…
continue reading
1
ตอนที่ 33 รวมโฆษณาเวอร์วังที่น่าระวังไว้
10:07
10:07
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:07
โฆษณา คือการเสนอข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการเพื่อการขาย โดยมันเป็นสิ่งที่อยู่กับมนุษย์เรามานานมากแล้ว และวิวัฒนาการเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน สิ่งหนึ่งที่ผู้บริโภคอย่างเราๆต้องรู้จักก็คือ False advertising ซึ่งเป็นการโฆษณาแบบที่ชวนให้ผู้บริโภคเข้าใจผิด หรือ นำข้อมูลที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์มาใช้ในการโฆษณา รายการในตอนนี้จึงมุ่งเน้นรวบรวมโฆษณาแบบที่คว…
…
continue reading
1
ตอนที่ 32 Apples and oranges หนึ่งในสูตรสำเร็จแห่งการสร้างทฤษฎีสุดมั่ว
10:57
10:57
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:57
ข่าวปลอมที่แพร่กระจายอยู่บนโลกของเรา มีหลายเรื่องที่ถูกเล่าในรูปทฤษฎีที่เกิดจากการจับเรื่องสองเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกันมาผสมกัน แล้วสร้างคำอธิบายขึ้นมาอย่างเป็นเรื่องเป็นราว เช่น การนำวิทยาศาสตร์ มาเชื่อมโยงกับความเชื่อหรือลัทธิ ด้วยการกล่าวอ้างต่างๆนานา เป็นต้น ในภาษาอังกฤษมีสำนวนว่า Apples and oranges ที่หมายถึงการนำของสองอย่างที่แตกต่างกันจนเปรี…
…
continue reading
1
ตอนที่ 31 รวมเรื่องที่มักเข้าใจผิดในโลกภาพยนตร์
10:33
10:33
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:33
ภาพยนตร์เป็นหนึ่งในสื่อที่เข้าถึงผู้คนได้เป็นจำนวนมาก ด้วยเนื้อเรื่องที่สนุก และ ภาพที่น่าตื่นตาตื่นใจ อีกทั้งความง่ายในการรับชม อย่างไรก็ตาม ภาพยนตร์บางกลุ่มมีการนำเสนอเนื้อเรื่องที่ดูสมจริง หรือ ใช้บรรยากาศองค์ประกอบต่างๆทำให้เนื้อเรื่องดูน่าเชื่อถือ แต่ความเป็นจริง มันไม่ได้เป็นเช่นนั้น รายการในตอนนี้จะพาทุกท่านไปคุยกันว่าภาพยนตร์อะไรบ้างที่นำเส…
…
continue reading
1
ตอนที่ 30 พลังจิตมีอยู่จริงหรือไม่? (ในมุมมองของวิทยาศาสตร์)
10:41
10:41
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:41
ลัทธิหรือกลุ่มความเชื่อบางอย่าง มีความเชื่อว่า คนบางคนสามารถรับรู้เหนือประสาทสัมผัสร่างกายอย่างการการเห็น ได้ยิน รสชาติ กลิ่น และการรับสัมผัส ได้ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า ESP หรือ extrasensory perception ส่วนภาษาไทยเองก็อาจจะใช้คำว่า สัมผัสที่หก หรือ เรียกรวมๆว่า พลังจิต ซึ่งบางครั้งก็มีการแบ่งออกเป็นความสามารถด้านอื่นๆมากมายแล้วแต่ความเชื่อ เช่น ย้ายส…
…
continue reading
1
ตอนที่ 29 สัมภาษณ์ รศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่ เรื่องอาหารเสริมและการกินให้ห่างไกลมะเร็ง
28:16
28:16
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
28:16
การเลือกรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง แต่ทุกวันนี้ ข่าวปลอมเรื่องอาหารการกิน อาหารเสริมสุขภาพนั้นมีมากมาย รายการในตอนนี้จึงพาทุกท่านไปคุยกับ รศ.ดร.ชนิพรรณ บุตรยี่ ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการแห่งสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อที่เราจะได้เข้าใจเรื่องอาหารการกินอย่างถูกต้องครับ…
…
continue reading
1
ตอนที่ 28 วิทยาศาสตร์ของเรื่องบังเอิญ
10:44
10:44
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:44
ความบังเอิญ (coincidence) หมายถึงเหตุการณ์สองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาเดียวกันโดยไม่ได้มีสาเหตุของการเกิดร่วมกัน หลายๆครั้งดูเหมือนเกิดขึ้นได้ยาก ทำให้เกิดความรู้สึกทึ่ง รู้สึกพิเศษ และน่าแปลกใจ ซึ่งความรู้สึกทึ่งนี้เอง อาจกระตุ้นให้ผู้ประสบเหตุบังเอิญเกิดความเชื่อเรื่องอำนาจเหนือธรรมชาติ หรือ เชื่อมโยงเหตุการณ์ทั้งสองเข้าด้วยกันอย่างแนบแน่น ต…
…
continue reading
1
ตอนที่ 27 ปรากฏการณ์ลึกลับในธรรมชาติ ตั้งแต่ อุกกาบาต ไปจนถึง แสงกระสือ
10:09
10:09
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:09
วิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการที่ใช้ศึกษาและอธิบายธรรมชาติได้อย่างยอดเยี่ยม ตั้งแต่ การเกิดสุริยุปราคาที่น่าหวาดหวั่น การเกิดรุ้งกินน้ำ ฟ้าแลบและฟ้าผ่า แสงออโรรา ฯลฯ แต่เรื่องที่ผมจะเล่าให้ฟังในรายการตอนนี้เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่บ่อยครั้งมันถูกตีความว่าเป็นเรื่องลึกลับเหนือธรรมชาติ เช่น หินอุกกาบาต หรือแสงกระสือ ซึ่งมักจะชักนำให้เกิดข่าวปลอมชวนตื่นเต้น…
…
continue reading
1
ตอนที่ 26 รวมการรักษาแบบวิทยาศาสตร์เทียม(ที่ได้รับความนิยมแพร่หลาย)
10:42
10:42
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:42
ปัจจุบันการรักษาแบบที่เป็นวิทยาศาสตร์เทียมนั้นมีมากมายหลายรูปแบบ (ถ้านับรวมการกินของแปลกๆเพื่อรักษาโรคร้ายแรงแล้วยิ่งเยอะมากๆ) รายการในตอนนี้รวบรวมการรักษาที่ไม่ได้รับการยอมรับทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ซึ่งเหล่าแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ต่างไม่แนะนำให้รับการรักษาด้วยวิธีเหล่านี้ครับ
…
continue reading
1
ตอนที่ 25 ทำไมเรื่องเล่าขาน และ ประสบการณ์เหลือเชื่อจึงไม่ใช่หลักฐานทางวิทยาศาสตร์
10:02
10:02
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:02
เวลามีคนเล่าประสบการณ์แปลกๆ (ถูกมนุษย์ต่างดาวลักพาตัวไป หรือพบเห็นภูติผี ฯลฯ) ทำไมนักวิทยาศาสตร์จึงไม่นับว่านี่เป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ต่างดาวหรือภูติผีมีอยู่จริง วันนี้ผมจะเล่าให้ฟังครับว่า ทำไมเรื่องเล่าขานจากประสบการณ์ในลักษณะนี้จึงไม่ใช่หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ผ่านกรณีศึกษาเรื่อง ผีอำ และ ความทรงจำเท็จ ครับ…
…
continue reading
1
ตอนที่ 24 สัมภาษณ์ ดร.ภก. ธีรัตถ์ เหลืองมั่นคง เรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกต้องและงานด้านเภสัชกรรม
24:13
24:13
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
24:13
ยา เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ แต่การใช้ยาไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดผลเสีย หรือทำให้ประสิทธิภาพของยาน้อยกว่าที่ควรจะเป็น วันนี้มาคุยกับ ดร.ภก. ธีรัตถ์ เหลืองมั่นคง เรื่องหลักการใช้ยาอย่างถูกต้อง 5 ประการ รวมทั้งเกร็ดน่าสนใจเกี่ยวกับงานด้านเภสัชกรรม แนะนำให้น้องๆที่สนใจเรียนด้านนี้ลองฟังครับ มีประโยชน์มาก…
…
continue reading
1
ตอนที่ 23 สารพัดปัญหาในโลกอินเทอร์เน็ต และวิธีอยู่ในโลกออนไลน์อย่างปลอดภัย
10:50
10:50
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:50
อินเทอร์เน็ต เป็นโลกที่เต็มไปด้วยข้อมูล ความรู้ รวมทั้งโอกาสในการสร้างสรรค์และทำงาน แต่อีกด้านหนึ่ง โลกอินเทอร์เน็ตกลับท่วมท้นไปด้วยข้อมูลข่าวปลอม การปลุกปั่น การขโมยข้อมูล และ เรื่องชวนเข้าใจผิดมากมาย รายการในตอนนี้จะมาคุยเรื่องการอาศัยอยู่ในโลกอินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยกันครับ
…
continue reading
1
ตอนที่ 22 Barnum Effect ปรากฎการณ์เบื้องหลังการอ่านใจและเทคนิคทำนายทายทัก
12:14
12:14
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
12:14
เมื่อเราพบเห็น ผู้ที่กล่าวอ้างว่าสามารถอ่านใจคนอื่นได้อย่างแม่นยำ เรามักงุนงงสงสัยว่าเขารู้ได้อย่างไร? คำอธิบายแรกคือ เขาเป็นผู้มีพลังพิเศษบางอย่าง ทำให้สามารถล่วงรู้ถึงสิ่งที่เคยเกิดขึ้นกับเรา รวมทั้งบุคลิกอัธยาศัยของเราได้อย่างน่าทึ่ง คำอธิบายที่สอง คือ เขาใช้เทคนิคบางอย่างในการทำให้เราเชื่อว่าเขาอ่านใจเราได้ ซึ่งรายการในตอนนี้จะชี้ให้เห็นถึงความ…
…
continue reading
1
ตอนที่ 21 โลกร้อน ภัยของมนุษยชาติที่คนบางกลุ่มเชื่อว่าเป็นข่าวปลอม
11:42
11:42
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:42
ภาวะโลกร้อน (Global warming) เป็นข้อสรุปที่ได้จากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำนวนมาก โดยงานวิจัยเหล่านี้ล้วนชี้ไปในทิศทางเดียวกันว่าโลกร้อนขึ้นจริงๆ แต่กลับมีคนจำนวนมากเชื่อว่าภาวะโลกร้อนเป็นข่าวปลอม โดยบางส่วนเชื่อว่าโลกไม่ได้ร้อนขึ้น , บางส่วนเชื่อว่าโลกร้อนขึ้นจริง แต่ไม่ได้เป็นผลมาจากมนุษย์ และไม่มีอะไรต้องเป็นห่วง รายการในตอนนี้จะเล่าให้ทุกท่านฟังว…
…
continue reading
1
ตอนที่ 20 ความเข้าใจผิดที่เกี่ยวกับการศึกษา (ชีวภาพ)
11:37
11:37
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:37
รายการในตอนนี้จะเล่าให้ทุกท่านฟังถึงความเข้าใจผิดที่แฝงตัวอยู่ในการเรียนการสอน ซึ่งมักจะถูกถ่ายทอดอย่างยาวนานจนกลายเป็นหนึ่งในความเข้าใจผิดที่พบเห็นได้ทั่วไปทั่วโลก ผมได้เลือกความเข้าใจผิดที่เกี่ยวกับการศึกษาโดยเน้นไปที่วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต โดยแบ่งเป็นหัวข้อใหญ่ๆคือ 1. ความเข้าใจผิดที่เกิดจากชื่อเรียกและคำศัพท์ 2…
…
continue reading
1
ตอนที่ 19 สถิติ ศาสตร์แห่งข้อมูลที่เผยความจริงและกลบฝังความจริงได้
13:00
13:00
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
13:00
สถิติ (Statistics) เป็นคณิตศาสตร์สาขาหนึ่งที่ช่วยในการศึกษาและจัดการกับข้อมูล ที่หลายคนต้องเรียน เพราะมันช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลได้เป็นอย่างดี แต่ รายการในตอนนี้จะเล่าให้ฟังว่า บางครั้งสถิติอาจนำมาซึ่งความเข้าใจผิดได้ มาร์ค ทเวน นักเขียนชาวอเมริกัน เคยกล่าวไว้ว่า " การโกหกนั้นมีสามแบบ 1.โกหกเฉยๆ 2. โกหกคำโต 3. สถิติ" ดังนั้นเมื่อเราได้ยินการอ้างข้…
…
continue reading
1
ตอนที่ 18 สัมภาษณ์รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ เรื่องธรรมชาติของข่าวปลอมในเมืองไทย
23:59
23:59
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
23:59
เมื่อพูดถึงข่าวปลอมในเมืองไทย หนึ่งในบุคคลที่เชี่ยวชาญเรื่องนี้ที่สุดต้องมีชื่อ รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ (หรือ อาจารย์เจษ) เป็นแน่ เพราะท่านจะสื่อสารให้สังคมรู้อยู่เสมอว่าอะไรเป็นข่าวปลอม โดยใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาอธิบาย แต่หลายคนอาจไม่ทราบว่าอาจารย์เจษ เริ่มต้นงานสายนี้ได้อย่างไร อะไรเป็นแรงผลักดัน รวมทั้งทุกวันนี้ อะไรคือความท้าทายของงานสื…
…
continue reading
1
ตอนที่ 17 การรักษาด้วยพลังเหนือธรรมชาติ
11:53
11:53
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:53
ข่าวปลอมด้านการแพทย์ ที่หลายอย่างเป็นอันตราย และหลายอย่างแม้จะไม่อันตรายโดยตรง แต่การเสียเวลาไปรักษาด้วยวิธีที่ไม่ได้ผลอาจทำให้อาการของโรครุนแรงจนกลับมารักษาด้วยการแพทย์สมัยใหม่ไม่ทันการได้ รายการตอนนี้จึงบอกเล่าให้ทุกท่านได้รู้จักการรักษาที่ไม่ได้รับการยอมรับจากวงการแพทย์ปัจจุบัน โดยเน้นไปที่ความเชื่อเรื่องพลังลี้ลับเหนือธรรมชาติ ได้แก่ พลังจักรวา…
…
continue reading
1
ตอนที่ 16 รวมเรื่องหลอกลวงเกี่ยวกับดวงจันทร์
11:48
11:48
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:48
ดวงจันทร์ เป็นวัตถุท้องฟ้าที่สว่างและมีความโดดเด่น มันจึงมีเรื่องเล่าขาน ตำนานปะปนมากับมีความเชื่อผิดๆและข่าวปลอมมากมาย ซึ่งรายการในตอนนี้จะเน้นไปที่สองเรื่อง นั่นคือ 1. Lunar effect ที่เชื่อว่าการเกิดข้างขึ้นข้างแรม นั้นส่งผลต่อสภาพร่างกายและจิตใจมนุษย์ได้ 2. ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องการไปเยือนดวงจันทร์ ที่ออกมากล่าวว่าการเดินทางไปยืนบนพื้นผิวดวงจันทร์ขอ…
…
continue reading
1
ตอนที่ 15 การอ้างเหตุผลแบบวิบัติ
12:03
12:03
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
12:03
การอ้างเหตุผลแบบวิบัตินั้นพบเจอได้บ่อยๆในชีวิตประจำวัน รายการตอนนี้พาไปรู้จักการอ้างเหตุผลแบบวิบัติที่ควรศึกษาไว้เพื่อไม่ให้คล้อยตาม ได้แก่ 1. Argument from authority การอ้างว่าสิ่งนั้นเป็นจริงเพราะ บุคคลผู้เชี่ยวชาญ ผู้น่าเชื่อถือ คิดเห็นว่ามันจริง 2. Argumentum ad populum การอ้างว่าสิ่งนี้จริง เพราะ คนส่วนมากเชื่อกันว่าจริง 3. Argumentum ad antiq…
…
continue reading
1
ตอนที่ 14 ข่าวปลอมเรื่องโลกแตก ภัยพิบัติระดับมังกร
12:43
12:43
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
12:43
ย้อนกลับไปไม่นานนัก แนวคิดเรื่องโลกแตกในปี ค.ศ. 2012 เป็นเรื่องที่โด่งดังมาก ผู้ที่เชื่อในเรื่องนี้ มีการกล่าวอ้างว่าปฏิทินมายันโบราณทำนายไว้ หลังจากปี 2012 ข่าวปลอมเกี่ยวกับวันสิ้นโลก ก็ยังมีอยู่เรื่อยๆ ซึ่ง มักกล่าวอ้างสาเหตุการทำลายล้างโลกที่แตกต่างกันออกไปดังนี้ 1. วัตถุนอกโลกพุ่งเข้าชนโลก 2. น้ำท่วมโลก 3.ดาวเคราะห์เรียงตัว ข่าวปลอมเหล่านี้มัก …
…
continue reading
1
ตอนที่ 13 ปรากฏการณ์พลาซีโบ : พลังแห่งการรักษาหลอก
11:03
11:03
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:03
ปรากฏการณ์พลาซีโบ (Placebo effect) เป็นปรากฏการณ์ที่ผู้ป่วยไม่รู้ว่าตนเองได้รับการรักษาหลอกๆ แต่ผู้ป่วย "บางราย"มีอาการดีขึ้นจริงๆ โดยส่วนมากจะเป็นการหายปวดหรือปวดลดลง บางรายอาจมีอาการนอนไม่หลับจากความเครียดลดลง อาการประเภทเหน็ดเหนื่อยหรือคลื่นไส้ลดลงได้ แต่มันไม่ได้ทำให้ผู้ป่วยหายจากโรค นักวิทยาศาสตร์ค้นพบปรากฏการณ์นี้ได้อย่างไร รวมทั้งพวกเขาจะผลท…
…
continue reading
1
ตอนที่ 12 สัมภาษณ์อาจารย์โก้ พงศกร สายเพ็ชร์ เรื่อง Cognitive bias
23:49
23:49
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
23:49
อาจารย์โก้ ดร.พงศกร สายเพ็ชร์ ผู้ทำช่องสอนวิทยาศาสตร์คุณภาพ "วิทย์พ่อโก้" จะเล่าให้ฟังว่า Cognitive bias ซึ่งเป็นวิธีคิดลัดและเอนเอียง จนส่งผลต่อการตัดสินใจของเราคืออะไร? พร้อมยกตัวอย่าง เช่น confirmation bias, ความเอนเอียงจากการอยู่รอด (Survivorship bias) , ปรากฏการณ์ดันนิง–ครูเกอร์ (Dunning–Kruger effect) ,Hindsight bias และเราจะระมัดระวังความคิด…
…
continue reading
1
ตอนที่ 11 มนุษย์เรารู้ได้อย่างไรว่าโลกกลม : รวมเหตุผลที่ใช้ตอบโต้ทฤษฎีโลกแบน
10:49
10:49
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
10:49
แม้ทุกวันนี้ เราจะรู้กันดีว่าโลกกลม แต่มีคนจำนวนหนึ่งหนึ่งรวมกลุ่มกันเป็นสมาคมอ้างเหตุผลต่างๆนานามาโน้มน้าวให้คนอื่นเชื่อว่า โลกของเราแท้จริงแล้วเป็นแผ่นแบนๆ ซึ่งขัดกับความจริงทางวิทยาศาสตร์ รายการตอนนี้จะรวมวิธีพิสูจน์ว่าโลกกลม ตั้งแต่การสังเกตธรรมชาติ จนถึงการใช้อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ต่างๆในการช่วยพิสูจน์ว่าโลกกลม เพื่อให้ทุกท่านเข้าใจแบบแจ…
…
continue reading
1
ตอนที่ 10 ข่าวปลอมเกี่ยวกับสมองและสติปัญญา
11:11
11:11
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:11
สมองเป็นอวัยวะที่อยู่ในกะโหลกศีรษะ มีหน้าที่สำคัญมากมายโดยเฉพาะการคิด การใช้เหตุผล การเกิดของอารมณ์ จนกล่าวได้ว่าสมองนั้นมีความซับซ้อนและมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อบุคลิกภาพและตัวตนของคนๆหนึ่ง ความรู้หลายอย่างเกี่ยวกับสมองเพิ่งถูกค้นพบไม่ถึงร้อยปีมานี้ แต่มีทฤษฎีมากมายที่อธิบายสมองอย่างผิดๆ จนถึง กล่าวอ้างในสิ่งที่ยังไม่ได้รับการยืนยันและไม่มีหลักฐานชั…
…
continue reading
1
ตอนที่ 9 วิทยาศาสตร์เทียม: ข่าวปลอมที่มาในคราบของวิทยาศาสตร์
13:35
13:35
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
13:35
วิทยาศาสตร์เป็นคำที่หลายคนคุ้นหู และเป็นวิชาที่เราเรียนกันมาตั้งแต่เด็ก แต่การแยกแยะวิทยาศาสตร์ออกจากสิ่งที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์นั้นเป็นสิ่งที่หลายคนอาจไม่ทราบมาก่อน นักปรัชญาชาวออสเตรียชื่อ Karl Popper เสนอหลักการที่ใช้แยกวิทยาศาสตร์ออกจากวิทยาศาสตร์เทียม (Pseudoscience) โดยทฤษฎีที่เป็นวิทยาศาสตร์จะถูกพิสูจน์ว่าผิดได้ หลักการดังกล่าวเรียกว่า falsifia…
…
continue reading
1
ตอนที่ 8 ตรรกะวิบัติ คืออะไร ? (ตอนต้น)
11:57
11:57
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:57
การตัดสินใจในชีวิตประจำวันของเราไม่ได้สมเหตุสมผลไปหมดทุกครั้ง และบ่อยครั้งเราอาจถกเถียงกัน โดยไม่ได้ใช้ตรรกะที่ถูกต้องรัดกุม รวมทั้งรับรู้ข้อมูลแล้วตัดสินใจเชื่ออย่างไม่ระมัดระวัง ตรรกะ (Logic) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาการให้เหตุผล มันเป็นส่วนหนึ่งของวิชาปรัชญา และถูกศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถเชิงวาทศิลป์และช่วยในการโต้งเถียงกับมนุษย์ผู้มีตรรกะวิบัติ (Fall…
…
continue reading
1
ตอนที่ 7 รวมข่าวปลอมเรื่องไวรัสโคโรนาที่ก่อโรค COVID-19
13:43
13:43
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
13:43
การระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่สร้างความกังวลไปทั่วโลก แต่สิ่งหนึ่งที่น่ากลัวไม่แพ้ไวรัส คือ ข่าวปลอมที่แพร่ไปแบบไวรัลตามสื่อโซเชียล ซึ่งมีอยู่มากมายจนต้องนำมารวบรวมไว้ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเข้าใจผิดแพร่กระจายไปเป็นวงกว้าง โดยแบ่งได้หลากหลายตั้งแต่ข่าวปลอมเกี่ยวกับสถานที่ติดเชื้อ จนถึง วิธีป้องกันตัว ตรวจสอบ หรือรักษาผิดๆ ฟังแล้วจะได้มีแนว…
…
continue reading
1
ตอนที่ 6 สัมภาษณ์คุณหมอเอ้ว -ชัชพล เรื่องการสวนล้างลำไส้และข่าวปลอมด้านการแพทย์
18:56
18:56
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
18:56
คุณหมอเอ้ว -ชัชพล เกียรติขจรธาดา นักเขียนเรื่องวิทยาศาสตร์ระดับ Best seller มาเล่าให้ฟังว่า ความเชื่อว่าการสวนล้างลำไส้ทำให้สุขภาพดีนั้นมีที่มาอย่างไร? และทำไมปัจจุบัน มันจึงไม่ได้รับความน่าเชื่อถือทางการแพทย์ รวมทั้งสรุปปิดท้ายว่า ข่าวปลอมในวงการแพทย์นั้นมีมากมาย แล้วเราควรเสพข้อมูลอย่างไร ?
…
continue reading
1
ตอนที่ 5 เครื่องจักรนิรันดร์คืออะไร ? อุปกรณ์ผลิตพลังงานไร้ที่สิ้นสุดถูกสร้างขึ้นได้หรือไม่ ?
11:05
11:05
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
11:05
เครื่องจักรนิรันดร์ ที่สามารถผลิตพลังงานได้อย่างไร้ที่สิ้นสุดนั้นเป็นข่าวคราวออกมาบ่อยๆ (แม้แต่ในเมืองไทยเราก็มีเป็นระยะ) นับเป็นข่าวปลอมที่หลอกให้เราเสียทรัพย์ไปโดยไม่เกิดประโยชน์อันใด รายการตอนนี้ ยกกรณีศึกษาเรื่อง เครื่องจักรนิรันดร์ (Perpetual motion machine) โดยอธิบายให้ฟังว่า เหตุใดมันจึงไม่มีทางถูกสร้างขึ้นได้จริง รวมทั้งอธิบายกฎของเทอร์โมได…
…
continue reading
1
ตอนที่ 4 วงกลมปริศนา (Crop Circle) กลางท้องทุ่ง และคลิปวีดีโอการผ่าเอเลี่ยน เป็นเรื่องจริงหรือไม่ ?
13:20
13:20
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
13:20
ข่าวปลอมจำนวนมากเกิดจากการกลั่นแกล้ง แผลงๆของคนบางกลุ่ม เราจะคัดกรองเรื่องเหล่านี้ออกไปได้อย่างไร ? รายการตอนนี้ ยกกรณีศึกษาเรื่อง Crop Circle หรือ วงกลมปริศนากลางท้องทุ่ง รวมทั้งวีดีโอการผ่าชันสูตรเอเลี่ยน มาวิเคราะห์ด้วยหลักการใบมีดโกนของอ็อคแคม เพื่อกระตุ้นให้ผู้ฟังแยกแยกและคิดได้ว่าเมื่อเจอเรื่องในลักษณะนี้อีกควรตัดสินใจเชื่อหรือไม่…
…
continue reading
1
ตอนที่ 3 ภาพถ่ายยูเอฟโอคืออะไร ?
13:50
13:50
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
13:50
เจาะลึกความจริงของภาพถ่ายและวีดีโอยูเอฟโอว่ามันเป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์หรือไม่ รวมทั้งอธิบายกรณีศึกษาเรื่องคลองและใบหน้าบนดาวอังคารว่าเกิดจากอะไร?
…
continue reading
1
ตอนที่ 2 ลัทธิต่อต้านวัคซีน : ข่าวปลอมที่อันตรายถึงชีวิต
12:34
12:34
เล่นในภายหลัง
เล่นในภายหลัง
ลิสต์
ถูกใจ
ที่ถูกใจแล้ว
12:34
เรียนรู้ว่าวัคซีน (Vaccine) มีต้นกำเนิดอย่างไร ? รู้จักลัทธิต่อต้านวัคซีน ซึ่งเป็นข่าวปลอมเก่าแก่ที่ยังมีอยู่จนถึงทุกวันนี้คืออะไร? รวมทั้งวิธีการป้องกันตัวจากข่าวปลอมด้านสุขภาพ
…
continue reading
ข่าวปลอม คืออะไร? มีกี่ประเภท? และเราจะแยกแยะ วิเคราะห์มันได้อย่างไรบ้าง
…
continue reading