Audio News สาธารณะ
[search 0]
เพิ่มเติม
ดาวน์โหลดแอปเลย!
show episodes
 
Loading …
show series
 
วัฒนธรรมชาติพันธุ์ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติที่ควรได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายHeritage Matters จาก The Standard11 ตุลาคม 2024บทความโดย อภินันท์ ธรรมเสนา ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารสังคมและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)..https://thestandard.co/preserving-thailands-diverse-ethnic-cultures/…
  continue reading
 
ชุมชนและวัฒนธรรมต้องมาก่อนในงานบูรณะเมืองเก่าHeritage Matters จาก The Standard10 พฤษภาคม 2024บทความโดย สิรินยา วัฒนสุขชัยhttps://thestandard.co/community-culture-priority-in-old-town-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม: การลงทุนอันก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณะHeritage Matters จาก The Standard11 เมษายน 2024บทความโดย ไบรอัน เมอร์เทนส์https://thestandard.co/opinion-cultural-assets/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การปกป้อง ‘เมืองโบราณศรีเทพ’ คือการปกป้องผู้คน ไม่ใช่แค่โบราณสถานHeritage Matters จาก The Standard16 มีนาคม 2024บทความโดย พชรพร พนมวัน ณ อยุธยาhttps://thestandard.co/protecting-the-ancient-si-thep-city/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การบูรณะอาคารประวัติศาสตร์: รักษาอาคารเก่าด้วยความเข้าใจการก่อสร้างHeritage Matters จาก The Standard8 มีนาคม 2024บทความโดย ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตรhttps://thestandard.co/historical-building-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ ​13 -​ มิติวัฒนธรรมใน COP28: ลดโลกร้อนด้วยมรดกวัฒนธรรมทำอย่างไรบทความโดย จารุณี คงสวัสดิ์Heritage Matters จาก The Standard26 มกราคม 2024https://thestandard.co/cop28-by-cultural-heritage/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 12 - ‘มรดกบาดแผล’ ประวัติศาสตร์ของความสูญเสียและความทรงจำอันเจ็บปวดที่ยังมีชีวิตอยู่บทความโดย ดร.ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูลhttps://thestandard.co/heritage-matters-tak-bai-incident/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 11 - การพัฒนาจะเคารพผู้อยู่อาศัยในเมืองจริงหรือ?บทความโดย ก้อง ฤทธิ์ดีhttps://thestandard.co/will-the-development-really-respect-the-citys-residents/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 10 - หลวงพระบางต้องการการคุ้มครอง ไม่ใช่เขื่อนความเสี่ยงสูงบทความโดย Tom Fawthrophttps://thestandard.co/luang-prabang-needs-protection/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 9 - เมืองเก่ากาญจนบุรี มรดกทางประวัติศาสตร์ การรื้อฟื้น อนุรักษ์ และพัฒนาบทความโดย: วีระพันธุ์ ชินวัตรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 8 - ‘สถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่’ ประวัติศาสตร์ที่ยังมีชีวิตบทความโดย: วีระพล สิงห์น้อยโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 7 - ประวัติศาสตร์รถไฟไทย รักษาไว้อย่าให้ตกรางบทความโดย: รศ. ปริญญา ชูแก้วโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 6 - ช่องโหว่ใน พ.ร.บ.ภาษีฯ จุดเริ่มต้นของการทำลายธรรมชาติบทความโดย: รศ.ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 5 - วัฒนธรรมและสภาพภูมิอากาศเป็นของคู่กันบทความโดย: โยฮันเนส วิโดโดPhoto: CC BY SA 4.0 by Khaosamingโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 4 - การหาแนวทางแก้ปัญหาอุทกภัย โดยอาศัยมรดกเป็นพื้นฐานบทความโดย: มณฑิรา หรยางกูร อูนากูลโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 3 - ดีบุกไทย: ขุดค้นประวัติศาสตร์ที่แท้จริงของเราผ่านมรดกทางอุตสาหกรรมบทความโดย: ดร.รังสีมา กุลพัฒน์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 2 - มรดกชุมชนที่หลุดมือ เมื่อ กทม. ขาดกฎหมายอนุรักษ์บทความโดย: รศ.ดร.ยงธนิศร์ พิมลเสถียรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 1 - ‘เราพยายามได้มากกว่านี้’ มรดกทางวัฒนธรรมของไทยต้องไม่สูญหายบทความโดย: พิไลพรรณ สมบัติศิริ นายกสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 154 วันที่ 24 สิงหาคม 2564 - ศพ ‘สุภาพสตรีกับดาบ’ อายุพันปี อาจไม่ใช่ ‘ผู้หญิง’ ...แต่เป็น ‘ผู้ชาย’ ที่มีโครโมโซมแตกต่าง - หลักฐานการใช้ไฟแสดงการแพร่วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นเมื่อ 400,000 ปีก่อน - นักโบราณคดีขุดพบเทวรูปอายุ 1,600 ปีในพรุที่มณฑลรอสคอมมอน - หลักฐานเชิงประจักษ์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 153 วันที่ 10 สิงหาคม 2564 - อ่างทองสำรวจพบสุสาน 3,000 ปี แหล่งฝังศพยุคก่อนประวัติศาสตร์ - พบ ‘ซากกำแพงเมืองโบราณ’ ของเยรูซาเล็มที่ถูกทำลายเมื่อ 2,600 ปีก่อน - การใช้โบราณคดีเพื่อเพิ่มความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - เผยผลศึกษาขุดค้นแหล่งโบราณคดี ร.ร.วัดท่าโป๊ะ เป็นแหล่งฝังศพสมัยสำริด - งานวิจัยใหม่เผย มาชูปิกชูเก่าเกินค…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 152 วันที่ 27 กรกฎาคม 2564 - เผยผลศึกษาซากคนโบราณพบที่ญี่ปุ่น เป็นเหยื่อถูกฉลามทำร้ายจนตายราว 3 พันปีก่อน - กัญชาถูกนำมาเป็นไม้เลี้ยงเมื่อ 12,000 ปีมาแล้ว - ดูผลทดลองรักษาผู้ป่วยวัณโรคใน “ถ้ำแมมมอธ” ยุคศตวรรษที่ 19 จากความเชื่อว่าอากาศในถ้ำบำบัดโรคได้ - แมลงพันธุ์ใหม่ ในก้อนอึญาติไดโนเสาร์อายุ 230 ล้านปี…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 151 วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 - ยุทธนาวี “แส็กเกิ่ม-สว่ายมู้ด” สงครามการปราชัยครั้งใหญ่ของสยาม ซึ่งแทบไม่เคยถูกกล่าวถึง - ค้นพบกะโหลกศีรษะของ "มนุษย์มังกร" ชี้เป็นญาติใกล้ชิดที่สุดกับโฮโมเซเปียนส์ - นักวิจัยพบหลักฐาน “โคโรน่าไวรัส” มีแนวโน้มระบาดในเอเชียตะวันออกเมื่อ 2 หมื่นปีก่อน - ซากโบราณสถานมหึมาในเมืองนาระอาจเคยเป็นตำหนัก…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 150 วันที่ 22 มิถุนายน 2564 - นักวิจัยเผย ‘ความบังเอิญสุดเร้นลับ’ ระหว่างวัฒนธรรมซานซิงตุย-มายาโบราณ - แกนนำทวงคืน 2 ทับหลัง แนะทำจำลองติดตั้งโบราณสถาน ของจริงเก็บในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น - เสฉวนพบซากกระท่อม ทำจากไผ่-โคลน เก่าแก่ 4,500 ปี - ค้นพบรูปสลักสัตว์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในสกอตแลนด์…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 149 วันที่ 8 มิถุนายน 2564 - ซากลูกหมาป่าอายุกว่า 57,000 ปี ถูกพบในชั้นดินเยือกแข็งของแคนาดา - ย้อนรอยโรคระบาดจากโบราณคดี ต้นตอโรคร้ายที่มาจากมนุษย์ - พบอนุสรณ์สงคราม 4,300 ปีเก่าแก่ที่สุดในโลกโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 148 วันที่ 25 พฤษภาคม 2564 - ทัพเรือยุคราชวงศ์ทิวดอร์มีหลายเชื้อชาติ - เมืองพระนคร กัมพูชา คือหนึ่งในเมืองที่มีผู้อาศัยมากสุดในโลกยุคศตวรรษที่ 13 - พบซากฟอสซิลมนุษย์นีแอนเดอร์ธัลในถ้ำใกล้กรุงโรม - ทหารโรมันชั้นสูง ถูกส่งไปกู้ภัยแถบปอมเปอี ช่วงภูเขาไฟระเบิด - พบไดโนเสาร์มหัศจรรย์ ที่ตามล่าเหยื่อในความมืด…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 147 วันที่ 11 พฤษภาคม 2564 - ซานซีพบ ‘จิตรกรรมฝาผนังหลุมศพ’ ล้ำค่า ยุคราชวงศ์เว่ยเหนือ - การค้นพบซาก “ปลาร้า” เฉียดหมื่นปีนับหมื่นตัวในสวีเดน บ่งชี้วิถียุคก่อนประวัติศาสตร์ - อียิปต์พบ ‘110 หลุมศพ’ สืบย้อน 3 อารยธรรมโบราณ - พบมัมมี่อียิปต์เป็นหญิงท้องแก่ มีซากทารก 7 เดือนในมดลูก ครั้งแรกของโลก - พบหลักฐานชี้ มนุษย์โบราณใช้ไ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 146 วันที่ 27 เมษายน 2564 - อียิปต์ค้นพบ “นครทองคำที่สาบสูญ” ใกล้หุบเขากษัตริย์ เก่าแก่กว่า 3,000 ปี - รักข้ามสายพันธุ์ “โฮโมเซเปียนส์-นีแอนเดอร์ทัล” - อียิปต์จัด "ขบวนเสด็จทองคำ" ย้ายมัมมี่ฟาโรห์ - ราชินี 22 พระองค์ เข้าพิพิธภัณฑ์แห่งใหม่โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 145 วันที่ 23 มีนาคม 2564 - ค้นพบรถม้าโรมันอายุ 2,000 ปี สภาพเกือบสมบูรณ์ที่ปอมเปอี - เปิดเมือง "อูร์" แหล่งกำเนิดศาสนาโลกที่โป๊ปฝ่าอันตรายไปเยือน - "คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก" อายุ 2,000 ปี ใช้วงแหวนประดับเพชรพลอยจำลองจักรวาลย่อส่วน - เผยโฉมหน้าใหม่บรรพบุรุษมนุษย์ "ลูซี่-เด็กเมืองตาอุง" ชี้ตรงตามหลักวิทยาศาสตร์มากที่สุด …
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 144 วันที่ 9 มีนาคม 2564 - หูเป่ยพบ ‘ซากหินปูพื้นโบราณ’ ยุคราชวงศ์ซาง - ผลสแกนมัมมี่ฟาโรห์ "นักรบผู้กล้า" เก่าแก่ 3,600 ปี พบสิ้นชีพในพิธีประหารหลังพ่ายแพ้ศัตรู - แม่เหล็กโลกกลับขั้วก่อหายนะภูมิอากาศ ทำสัตว์หลายชนิดสูญพันธุ์ เมื่อ 42,000 ปีก่อน - หาเทอโรแดคทิล แต่กลับพบปอดของปลาโบราณ ที่มีขนาดมหึมา - พ่อขุนรามคำแหงไปเมืองจี…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 143 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 - พิพิธภัณฑ์สหรัฐยอมคืนทับหลังโบราณ 2 ชิ้นให้ไทย - สโตนเฮนจ์น่าจะสร้างขึ้นจากหินที่เอามาจากโบราณสถาณที่เก่ากว่า - วิธีรักษา "ไข้ใจ" เมื่อความรักคือโรคร้ายที่เยียวยาได้ด้วยการแพทย์ในยุคกลาง - พบโรงงานเบียร์โบราณ ยุคราชวงศ์แรกของอียิปต์ - คนอียิปต์โบราณอบขนมปังกันอย่างไร นักวิจัยพบคำตอบหลังลองทำไ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 142 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 - นักวิจัยไขข้อสงสัย ‘สุสานจิ๋นซี’ ถูกสร้างขึ้นอย่างไรกันแน่? - ยูนนานพบ ‘ซากวัดโบราณของราชสำนัก’ สมัยอาณาจักรน่านเจ้า - ค้นพบซากฟอสซิลต้นไม้ขนาดใหญ่กลายเป็นหิน อายุ 20 ล้านปี - รูปแกะสลักบนมงกุฎพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สาบสูญร่วม 400 ปี นักล่าสมบัติอ้าง พบแล้วอยู่ในทุ่ง - พบมัมมี่อียิปต์ลิ้นทองคำ ในวิ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 141 วันที่ 26 มกราคม 2564 - บรรพบุรุษมนุษย์อาจหลับจำศีล เพื่อเอาชีวิตรอดจากฤดูหนาวสุดโหด - พบหลักฐานร้านอาหาร “สตรีทฟู้ด” ในปอมเปอี - ‘ข้าวเจ้า’ เก่าสุดในไทย เจอในไหจมพร้อมเรือที่สมุทรสาคร เมื่อ 1,200 ปีก่อน - ภาพวาดผนังถ้ำรูป “หมู” ที่อินโดนีเซีย อาจเป็นรูปสัตว์เก่าแก่อันดับต้นๆ - จีนพบ ‘พระราชวังเก่าแก่ที่สุด’ ในเหอหนาน เ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 140 วันที่ 12 มกราคม 2564- สุดยอดการค้นพบทางโบราณคดีแห่งปี 2020- วิจัยการกัด ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในยุคแรก- เหรียญจีนยุคกลาง ชี้สัมพันธ์อังกฤษกับเอเชียตะวันออกโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 139 วันที่ 22 ธันวาคม 2563 - นักโบราณคดีเร่งเผยความลับเรือไวกิ้งโบราณ - พบโครงกระดูกวาฬพันปี สมัยเมืองสมุทรอยู่ใต้บาดาล - เผยกระดูกวาฬอายุถึง 6 พันปี หลังขุดพบในสมุทรสาคร - ค้นพบภาพเขียนสีอายุกว่าหมื่นปี เรียงรายยาวบนผาหินที่โคลอมเบีย - ชิ้นไม้จากมหาพีระมิด อายุ 5 พันปี บังเอิญพบ(อีกหน)ในกล่องซิการ์…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 138 วันที่ 8 ธันวาคม 2563 - จีนพบ ‘หอบวงสรวง’ 1,500 ปี ซ่อนตัวกลางภูเขามองโกเลียใน - นักวิจัยยุโรปริเริ่มโครงการสร้างกลิ่นจากอดีตขึ้นมาใหม่ - จารึกวิหารอียิปต์โบราณ เผยชื่อกลุ่มดาวปริศนาที่นักดาราศาสตร์ไม่รู้จักมาก่อน - นักโบราณคดี ค้นพบลูกธนูอายุราว 6,000 ปี เนื่องจากพืดน้ำแข็งละลายอย่างรวดเร็ว…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 137 วันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 - เด็กนีแอนเดอร์ทัลเติบโตและหย่านมเหมือนพวกเรา - มนุษย์ยุคใหม่เคยสู้รบทำสงครามกับนีแอนเดอร์ทัลนานกว่าแสนปี - พบกะโหลกศีรษะเผ่าพันธุ์เครือญาติของมนุษย์อายุ 2 ล้านปี ชี้มีชีวิตร่วมสมัยกับโฮโมอีเร็กตัส - พบทะเลสาบโบราณขนาดมหึมาใต้ผืนน้ำแข็งกรีนแลนด์ คาดเก่าแก่นับล้านปี - สำเภาพระไตรปิฎกจากชมพูทวีป …
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 136 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 - พบภาพวาดในวัดญี่ปุ่นอาจเก่าแก่ 1,300 ปี - ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับภาษา มีจริงหรือไม่ - เรืออับปางของนาซีอาจซ่อนมหาสมบัติที่ปล้นไปจากห้องอำพันของพระราชวังรัสเซีย - พบเส้นนาซการูปแมวอายุกว่า 2,200 ปี บนเนินเขาในเปรู - กรมศิลป์ตรวจภาพเขียนสีในพื้นที่อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 135 วันที่ 27 ตุลาคม 2563 - มรดกยีนจากมนุษย์นีแอนเดอร์ทัล เพิ่มความเสี่ยงป่วยโควิดแบบรุนแรงขึ้น 3 เท่า - พบอีกเครื่องมือหินโบราณ ขวานหิน ที่ถ้ำดินอุทยานสามร้อยยอด - พบเซลล์สมองผู้ตายเพราะภูเขาไฟวิสุเวียสระเบิด - หญิงแคนาดาเจอคำสาปปอมเปอี รีบส่งคืนโบราณวัตถุ - ขุดพบสุสานอนุสรณ์ของอาราทุส นักดาราศาสตร์กรีกโบราณในตุรกี…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 134 วันที่ 13 ตุลาคม 2563 - สุดยอดการค้นพบ 10 หลักฐานทางโบราณคดีเปลี่ยนโลก - พลิกปวศ.อ่างทอง! พบครั้งแรก ‘สุสานยุคหินใหม่ 3 พันปี’ - อดีตคณบดีโบราณคดีชี้ สุสาน 3 พันปี ข้อมูลใหม่บ่งสัมพันธ์ 2 ฝั่งเจ้าพระยา - ตำราแพทย์จีน 2,200 ปี เป็นต้นฉบับแผนที่กายวิภาคศาสตร์เก่าแก่ที่สุดของโลก - ซากสเปิร์มเก่าแก่ที่สุดในโลกของสัตว์ เก็บอ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 133 วันที่ 22 กันยายน 2563 - สุดยอดการค้นพบ 10 หลักฐานทางโบราณคดีเปลี่ยนโลก 1. แผ่นหินโรเซตตา 2. ทรอย 3. ห้องสมุดอัสซีเรีย ในเมืองโบราณนิเนเวห์ 4. สุสานของยุวกษัตริย์ทุตอังคามุน 5. มาชู ปิกชู 6. ปอมเปอี 7. ลิขิตเดดซี 8. สุสานจักรพรรดิจิ๋นซี และรูปปั้นทหาร 10,000 ชิ้นโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 132 วันที่ 8 กันยายน 2563 - เบื้องหลังการเปิดโปงคดีหนังสือบุดสมุดข่อยเมืองคอนหาย ดูเอกสารสำคัญ 2 ชิ้นที่ได้คืน - ภาพเอกซเรย์ 3 มิติเผยคนอียิปต์โบราณหักคอลูกแมวทำมัมมี่ - หมาน้อยยุคน้ำแข็งกินเนื้อแรดขนยาวเป็นอาหารมื้อสุดท้าย - นักวิทยาศาสตร์บังเอิญพบฟอสซิลกระดูกไดโนเสาร์อายุ 166 ล้านปี ขณะวิ่งบนชายหาดในสกอตแลนด์ - สัตว์จำศีล…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 131 วันที่ 25 สิงหาคม 2563 - ดีเอ็นเอชี้ แรดขนยาวอาจสูญพันธุ์เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไม่ใช่ถูกมนุษย์ล่า - จีนเผชิญน้ำท่วมรุนแรง ระดับน้ำสูงแตะพระบาทพระพุทธรูปเล่อซาน ครั้งแรกในรอบ 71 ปี - การหาอายุด้วยคาร์บอนตามเวลาใหม่กำลังเปลี่ยนทรรศนะทางประวัติศาสตร์ของเรา - “เรือจมเพชรบุรีเบรเมน” ที่มาที่ไปจนมาเป็นแหล่งศึกษาเรี…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 130 วันที่ 11 สิงหาคม 2563 - พบเอกสารราชวงศ์ถังกว่า 700 ชิ้นที่แนวรบโบราณของซินเจียง - หลักฐานใหม่ชี้มนุษย์อพยพสู่ทวีปอเมริกาตั้งแต่ 33,000 ปีก่อน - แฉมีขบวนการโจรกรรมหนังสือบุดสมุดข่อยโบราณเมืองนคร - ทยอยส่งคืนทางไปรษณีย์หนังสือบุดโบราณชุดแรก 3 กล่องใหญ่ - ผู้ซื้อไม่รู้หนังสือบุดสมุดข่อยโบราณถูกโจรกรรมเร่งทยอยส่งคืน - อัคร…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 129 วันที่ 28 กรกฎาคม 2563 - พบเหมืองโบราณของมนุษย์ยุคน้ำแข็งในถ้ำใต้น้ำที่เม็กซิโก - มัมมี่นักรบโบราณอายุกว่า 2 พันปี แท้จริงเป็นวัยรุ่นหญิง - พบโครงกระดูกเหยื่อฆาตกรรม "ปริศนา" อายุ 2,000 ปีจากยุคเหล็ก ขณะอังกฤษสร้างรถไฟสายใหม่ - เรื่องเล่าจากหลุม! นักโบราณคดีเผย “มูเตลู” ครั้งขุดค้นหมู่บ้านโปรตุเกสที่อยุธยา - ครั้งแรกในไ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 128 วันที่ 14 กรกฎาคม 2563 - 2020 ปีที่เทคโนโลยีจะช่วยในการค้นพบทางโบราณคดี จนอาจนำไปสู่การเขียนประวัติศาสตร์กันใหม่โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 127 วันที่ 23 มิถุนายน 2563 - พบถ้ำภาพเขียนสีแห่งใหม่ ในถ้ำดิน อุทยานแห่งชาติสามร้อยยอด - บริษัทเหมืองแร่ "ขอโทษ" ที่ระเบิดถ้ำโบราณของชาวอะบอริจิน - ดีเอ็นเอเผย กษัตริย์ยุคหินใหม่ของไอร์แลนด์เกิดจากคู่สมรสที่เป็นพี่น้องกัน - มารู้จัก อาคารบอมเบย์เบอร์มา อายุนานกว่าศตวรรษ!!โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 126 วันที่ 9 มิถุนายน 2563 - กรมศิลป์พบโบราณวัตถุเครื่องถ้วย 96 รายการ จากแหล่งโบราณคดีบ้านศรีป่าซาง - ส่องงานขุดค้นซากเรือยุคราชวงศ์ซ่ง ไขปริศนาเส้นทางสายไหมทางทะเลโบราณ - กาน้ำสัมฤทธิ์หัวหงส์ อายุพันปี กับของเหลวปริศนากว่า 3 ลิตร - ซากของนารีในบ่อหินในประเทศตุรกี เผยการอพยพเมื่อ 4000 ปีก่อน จากเอเชียสู่เมดิเตอร์เรเนียน - …
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 125 วันที่ 26 พฤษภาคม 2563 - มนุษย์ดึกดำบรรพ์ผู้มุ่งออสเตรเลียเปลี่ยนรสนิยมจากกินปลาไปกินหนู - 10 สุดยอดการค้นพบทางโบราณคดีจีน ประจำปี 2019 - ชาวโรมันรอดชีวิตหนีภูเขาไฟระเบิดถล่มปอมเปอีเป็นใครบ้าง ย้ายไปไหน - ร่องรอยในอุกกาบาตที่แอนตาร์กติกาชี้ เคยมีมหาสมุทรอุดมด้วยสารอินทรีย์บนดาวอังคาร…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 124 วันที่ 12 พฤษภาคม 2563 - จีนค้นพบหลักฐานโบราณคดีครั้งใหญ่ พิสูจน์ ‘ต้นกำเนิดอารยธรรมจีน’ กว่า 5,000 ปี - เธอผู้เยียบเย็น : เทวีแห่งโรคระบาดของอินเดีย - เส้นทางสู่ทางช้างเผือก ในแนวโบราณคดีโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 123 วันที่ 28 เมษายน 2563 - มากกว่าภาพเขียนสีโบราณ! เอกสารกรมศิลป์ชี้ชัด “เขายะลา” มีวัตถุโบราณอีกหลายชิ้น - มลพิษตะกั่ว เกิดขึ้นสูงสุดเมื่อ 800 ปีก่อน - กระดูกนกโบราณชี้สภาพที่ราบสูงทิเบตในอดีต - มนุษย์โบราณนีแอนเดอร์ทัลถักเชือกเก่าแก่ที่สุดในโลกอายุ 5 หมื่นปี - การระบุที่มาของมูลโบราณอย่างแม่นยำ - เกิดอะไรกับ “ไหกระเทียม”…
  continue reading
 
Loading …

คู่มืออ้างอิงด่วน