Social Sciences สาธารณะ
[super 932171]
เพิ่มเติม
ดาวน์โหลดแอปเลย!
show episodes
 
Loading …
show series
 
วัฒนธรรมชาติพันธุ์ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติที่ควรได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายHeritage Matters จาก The Standard11 ตุลาคม 2024บทความโดย อภินันท์ ธรรมเสนา ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารสังคมและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)..https://thestandard.co/preserving-thailands-diverse-ethnic-cultures/…
  continue reading
 
ชุมชนและวัฒนธรรมต้องมาก่อนในงานบูรณะเมืองเก่าHeritage Matters จาก The Standard10 พฤษภาคม 2024บทความโดย สิรินยา วัฒนสุขชัยhttps://thestandard.co/community-culture-priority-in-old-town-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม: การลงทุนอันก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณะHeritage Matters จาก The Standard11 เมษายน 2024บทความโดย ไบรอัน เมอร์เทนส์https://thestandard.co/opinion-cultural-assets/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การปกป้อง ‘เมืองโบราณศรีเทพ’ คือการปกป้องผู้คน ไม่ใช่แค่โบราณสถานHeritage Matters จาก The Standard16 มีนาคม 2024บทความโดย พชรพร พนมวัน ณ อยุธยาhttps://thestandard.co/protecting-the-ancient-si-thep-city/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
การบูรณะอาคารประวัติศาสตร์: รักษาอาคารเก่าด้วยความเข้าใจการก่อสร้างHeritage Matters จาก The Standard8 มีนาคม 2024บทความโดย ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตรhttps://thestandard.co/historical-building-restoration/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ ​13 -​ มิติวัฒนธรรมใน COP28: ลดโลกร้อนด้วยมรดกวัฒนธรรมทำอย่างไรบทความโดย จารุณี คงสวัสดิ์Heritage Matters จาก The Standard26 มกราคม 2024https://thestandard.co/cop28-by-cultural-heritage/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 12 - ‘มรดกบาดแผล’ ประวัติศาสตร์ของความสูญเสียและความทรงจำอันเจ็บปวดที่ยังมีชีวิตอยู่บทความโดย ดร.ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูลhttps://thestandard.co/heritage-matters-tak-bai-incident/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 11 - การพัฒนาจะเคารพผู้อยู่อาศัยในเมืองจริงหรือ?บทความโดย ก้อง ฤทธิ์ดีhttps://thestandard.co/will-the-development-really-respect-the-citys-residents/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 10 - หลวงพระบางต้องการการคุ้มครอง ไม่ใช่เขื่อนความเสี่ยงสูงบทความโดย Tom Fawthrophttps://thestandard.co/luang-prabang-needs-protection/โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 9 - เมืองเก่ากาญจนบุรี มรดกทางประวัติศาสตร์ การรื้อฟื้น อนุรักษ์ และพัฒนาบทความโดย: วีระพันธุ์ ชินวัตรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ตอนที่ 8 - ‘สถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่’ ประวัติศาสตร์ที่ยังมีชีวิตบทความโดย: วีระพล สิงห์น้อยโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 7 - ประวัติศาสตร์รถไฟไทย รักษาไว้อย่าให้ตกรางบทความโดย: รศ. ปริญญา ชูแก้วโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 6 - ช่องโหว่ใน พ.ร.บ.ภาษีฯ จุดเริ่มต้นของการทำลายธรรมชาติบทความโดย: รศ.ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 5 - วัฒนธรรมและสภาพภูมิอากาศเป็นของคู่กันบทความโดย: โยฮันเนส วิโดโดPhoto: CC BY SA 4.0 by Khaosamingโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 4 - การหาแนวทางแก้ปัญหาอุทกภัย โดยอาศัยมรดกเป็นพื้นฐานบทความโดย: มณฑิรา หรยางกูร อูนากูลโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 3 - ดีบุกไทย: ขุดค้นประวัติศาสตร์ที่แท้จริงของเราผ่านมรดกทางอุตสาหกรรมบทความโดย: ดร.รังสีมา กุลพัฒน์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 2 - มรดกชุมชนที่หลุดมือ เมื่อ กทม. ขาดกฎหมายอนุรักษ์บทความโดย: รศ.ดร.ยงธนิศร์ พิมลเสถียรโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
บทความชุด Heritage Matters ของสยามสมาคม เผยแพร่ฉบับภาษาไทยใน The Standardตอนที่ 1 - ‘เราพยายามได้มากกว่านี้’ มรดกทางวัฒนธรรมของไทยต้องไม่สูญหายบทความโดย: พิไลพรรณ สมบัติศิริ นายกสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 รัฐบาลคณะราษฎร ได้ฟื้นฟูการทูตสวนสัตว์โดยในปี 2478 โดยได้ส่งช้างไปสานสัมพันธ์ตามคำขอของรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ชื่อ พังวันดี ซึ่งได้รับการต้อนรับจากชาวญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก โดยได้เปลี่ยนชื่อเป็น พังฮานาโกะ แต่ในเวลาไม่นานเกิดอาการป่วยและล้มในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (สงครามมหาเอเชียบูรพา) และในยุคที่ญี่ปุ่นกำลังฟื้…
  continue reading
 
ในคราวที่สร้างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ได้มีการสร้างช้างสำริดขึ้นบริเวณอัฒจรรย์ทางขึ้นพระที่นั่ง โดยรัชกาลที่ 5 มีพระราชประสงค์เป็น 2 นัยคือ 1. เพื่อทบทวนอดีตของตำแหน่งที่ตั้งของพระที่นั่ง โดยตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่ 1 เคยเป็นโรงช้างเผือก 2. เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของบ้านเมืองและพระเกียรติยศของพระมหากษัตริย์ ส่วนในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้พระราชทานรูปปั้นช้างไปท…
  continue reading
 
ในขณะนั้นกลุ่มประเทศตะวันตกได้จัดให้มีการตั้งสวนสัตว์ขึ้น โดยรวบรวมสัตว์จากต่างประเทศทั่วโลกไปจัดแสดง รัชกาลที่ 4 ทรงทราบว่าประเทศสหรัฐอเมริกาไม่มีช้างเป็นสัตว์ประจำถิ่น พระองค์มีพระราชหัตถเลขาถึงประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ที่จะส่งช้างไป 1 คู่ เพื่อจัดแสดงในสวนสัตว์รวมทั้งเพาะขยายพันธุ์ โดยประธานาธิบดีอับราฮัม ลินคอล์น ได้ตอบปฏิเสธและให้เหตุผลว่า ภูม…
  continue reading
 
การติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติผ่านเรือสินค้าไปยังต่างประเทศ สิ่งที่ยืนยันความเป็นรัฐของเรือแต่ละลำคือการประดับด้วยธง สมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้นำรูปช้างเผือกสีขาวติดลงบนธงสีแดง ถือเป็นสัญลักษณ์ของสยาม นอกจากนี้ยังติดต่อค้าขายกับประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา โดยในสมัยประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจ็กสัน ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 3 มีนโยบายติ…
  continue reading
 
ช้าง สัตว์คู่บ้านคู่เมืองของชนชาวภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ที่มีความสำคัญโดยได้รับความเชื่อมาจากวัฒนธรรมอินเดีย โดยเฉพาะช้างเผือก ถือว่าเป็นสัตว์ที่ส่งเสริมพระบารมีของพระมหากษัตริย์ ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า แห่งกรุงศรีอยุธยา ทรงได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก เพราะทรงมีช้างเผือกครอบครองจำนวนมาก ความทราบถึงพระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์…
  continue reading
 
การสร้างพระสยามเทวาธิราช ของรัชกาลที่ 4 มีต้นแบบของความเชื่อเกี่ยวกับการเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนในราชอาณาจักรมาจาก เทพีบริทาเนีย (Britannia) แห่งราชวงศ์อังกฤษ แต่ในขณะนั้นการจะพูดถึงการเป็นศูนย์รวมจิตใจกับประชาชน คงเป็นเรื่องยากในการทำความเข้าใจ รัชกาลที่ 4 จึงได้นำความเชื่อเกี่ยวกับการปกปักษ์รักษาเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข โดยได้ยกสถานะพระ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 154 วันที่ 24 สิงหาคม 2564 - ศพ ‘สุภาพสตรีกับดาบ’ อายุพันปี อาจไม่ใช่ ‘ผู้หญิง’ ...แต่เป็น ‘ผู้ชาย’ ที่มีโครโมโซมแตกต่าง - หลักฐานการใช้ไฟแสดงการแพร่วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นเมื่อ 400,000 ปีก่อน - นักโบราณคดีขุดพบเทวรูปอายุ 1,600 ปีในพรุที่มณฑลรอสคอมมอน - หลักฐานเชิงประจักษ์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล…
  continue reading
 
ก่อนที่ศาสนาจะเข้ามาเผยแผ่ในดินแดนอุษาคเนย์ ผีที่ได้รับความเคารพนับถือยังไม่มีการแบ่งชนชั้นหรือลักษณะของผีสาง เมื่อศาสนาและความเชื่่อเกี่ยวกับเทพเทวดาเข้ามามีบทบาทในพื้นที่แห่งนี้ ผีบ้านผีเมืองที่มีลักษณะ หรืออภินิหาญคล้ายคลึงกับเทพ จึงได้รับการยกสถานะขึ้นเป็นเทพเทวดาปกปักษ์รักษาคุ้มครองป้องกันภัย โดยได้จำแนก 4 - 5 ประเภท…
  continue reading
 
ในกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไต - ไท ในดินแดนเอเชียอาคเนย์ ทางตอนใต้ของจีน และต่างตะวันออกของอินเดีย มีความเชื่อเกี่ยวกับผีบ้านผีเมืองไปในทิศทางเดียวกัน นั่นทำให้คนในกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กันในลักษณะเครือญาติโดย Thai PBS Podcast
  continue reading
 
ความเชื่อเกี่ยวกับผีและวิญญาณ เกิดขึ้นเมื่อมนุษย์เริ่มอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มก้อนเป็นสังคมที่ใหญ่ขึ้น เมื่อความตายเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต ทำให้เกิดคำถามว่า “ตายแล้วไปไหน” จึงเกิดเป็นความเชื่อการมีตัวตนของโลกหน้า ส่งผลให้เกิดวิธีปฏิบัติด้วยการนำข้าวของเครื่องใช้หรือเครื่องประดับใส่ลงไปในหลุมศพ ซึ่งจริง ๆ แล้ว สาเหตุนั้นเกิดจากความกลัวแล…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 153 วันที่ 10 สิงหาคม 2564 - อ่างทองสำรวจพบสุสาน 3,000 ปี แหล่งฝังศพยุคก่อนประวัติศาสตร์ - พบ ‘ซากกำแพงเมืองโบราณ’ ของเยรูซาเล็มที่ถูกทำลายเมื่อ 2,600 ปีก่อน - การใช้โบราณคดีเพื่อเพิ่มความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - เผยผลศึกษาขุดค้นแหล่งโบราณคดี ร.ร.วัดท่าโป๊ะ เป็นแหล่งฝังศพสมัยสำริด - งานวิจัยใหม่เผย มาชูปิกชูเก่าเกินค…
  continue reading
 
ปัญหาการเมืองการปกครองของสยามเกี่ยวกับการแย่งชิงราชสมบัติ ในประวัติศาสตร์พบว่า นอกจากการช่วยเหลือจากกลุ่มคนสยามด้วยกันแล้ว ยังมีชาวต่างชาติที่ร่วมกระทำการในแต่ละครั้งด้วย เช่น ชาวญี่ปุ่น แขก หรือแม้กระทั่งการได้รับการสนับสนุนจากราชวงศ์ของจีนโดย Thai PBS Podcast
  continue reading
 
เมื่อกรุงศรีอยุธยามีความเจริญรุ่งเรือง ชาวต่างชาติได้ติดต่อค้าขายมากขึ้น ทำให้กรุงศรีอยุธยากลายเป็นจุดหมายหนึ่งของชาวต่างชาติที่จะแวะเวียนเข้ามาทั้งการติดต่อส่วนราชการและการค้าขายจนได้ชื่อว่า เป็นเมืองท่านานาชาติอีกแห่งหนึ่งของเอเชียอาคเนย์ในสมัยนั้นโดย Thai PBS Podcast
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 152 วันที่ 27 กรกฎาคม 2564 - เผยผลศึกษาซากคนโบราณพบที่ญี่ปุ่น เป็นเหยื่อถูกฉลามทำร้ายจนตายราว 3 พันปีก่อน - กัญชาถูกนำมาเป็นไม้เลี้ยงเมื่อ 12,000 ปีมาแล้ว - ดูผลทดลองรักษาผู้ป่วยวัณโรคใน “ถ้ำแมมมอธ” ยุคศตวรรษที่ 19 จากความเชื่อว่าอากาศในถ้ำบำบัดโรคได้ - แมลงพันธุ์ใหม่ ในก้อนอึญาติไดโนเสาร์อายุ 230 ล้านปี…
  continue reading
 
หลังจากการร่างสร้างเมืองของกรุงศรีอยุธยา ที่มีชัยภูมิติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้การค้าขายไม่ได้ทำเพียงแค่ทางบกเท่านั้น ยังสามารถติดต่อผ่านทางน้ำได้อีกด้วย จึงทำให้เริ่มมีชาติตะวันตกเข้ามาติดต่อค้าขายกันมากขึ้นโดย Thai PBS Podcast
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 151 วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 - ยุทธนาวี “แส็กเกิ่ม-สว่ายมู้ด” สงครามการปราชัยครั้งใหญ่ของสยาม ซึ่งแทบไม่เคยถูกกล่าวถึง - ค้นพบกะโหลกศีรษะของ "มนุษย์มังกร" ชี้เป็นญาติใกล้ชิดที่สุดกับโฮโมเซเปียนส์ - นักวิจัยพบหลักฐาน “โคโรน่าไวรัส” มีแนวโน้มระบาดในเอเชียตะวันออกเมื่อ 2 หมื่นปีก่อน - ซากโบราณสถานมหึมาในเมืองนาระอาจเคยเป็นตำหนัก…
  continue reading
 
ชาวต่างชาติในช่วงแรกของกรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นช่วงรอยต่อจากการปกครองของกรุงสุโขทัย ในขณะนั้นมีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติผ่านเส้นทางบนบก เช่น พ่อค้าจากชาวจีน และบ้านเมืองในอยู่ในบริเวณใกล้เคียงโดย Thai PBS Podcast
  continue reading
 
แม้การกัลปนา จะเป็นเรื่องการทำบุญทำทานแต่ยังแฝงไปด้วยการเมืองอีกด้วย ดังเช่นการทำนุบำรุงหรือกัลปนาวัดบริเวณทะเลสาปสงขลา ด้วยการส่งทาสจากเมืองหลวงไปยังพื้นที่ดังกล่าว ทำให้เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชและสงขลา ต่างหวาดหวั่นจนถึงขั้นนอนไม่หลับ เนื่องจากทาสที่ได้จากการกัลปนาจากพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานมา ถือเป็นสิทธิ์ขาดของเจ้าอาวาส ผู้อื่นจะเข้ามายุ่งเกี่ย…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 150 วันที่ 22 มิถุนายน 2564 - นักวิจัยเผย ‘ความบังเอิญสุดเร้นลับ’ ระหว่างวัฒนธรรมซานซิงตุย-มายาโบราณ - แกนนำทวงคืน 2 ทับหลัง แนะทำจำลองติดตั้งโบราณสถาน ของจริงเก็บในพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น - เสฉวนพบซากกระท่อม ทำจากไผ่-โคลน เก่าแก่ 4,500 ปี - ค้นพบรูปสลักสัตว์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในสกอตแลนด์…
  continue reading
 
ในด้านเศรษฐกิจแล้ว การกัลปนาในที่วัดต่าง ๆ ถือว่ามีความสำคัญมาก เนื่องจากปริมาณในการเพาะปลูกที่มีอยู่จำนวนมาก นอกจากจะใช้เลี้ยงนักบวชและข้าทาสต่าง ๆ แล้ว ยังเหลือที่จะส่งเป็นส่วยเข้าไปในวังหลวง เพื่อเป็นเสบียงใช้ในยามศึกสงครามและนำไปค้าขายกับต่างเมืองได้อีก โดยทรัพย์ที่ได้จากการค้าขายจะมีส่วนหนึ่งที่ส่งกลับไปทำนุบำรุงศาสนสถานนั้น ๆ อีกด้วย…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 149 วันที่ 8 มิถุนายน 2564 - ซากลูกหมาป่าอายุกว่า 57,000 ปี ถูกพบในชั้นดินเยือกแข็งของแคนาดา - ย้อนรอยโรคระบาดจากโบราณคดี ต้นตอโรคร้ายที่มาจากมนุษย์ - พบอนุสรณ์สงคราม 4,300 ปีเก่าแก่ที่สุดในโลกโดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
ในพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา ถือเป็นการเริ่มต้นของรัฐบ้านเมืองที่เป็นคนไทย ธรรมเนียมปฏิบัติที่พระมหากษัตริย์ต้องปฏิบัติคือ การสร้างวัด ไม่ว่าจะสร้างภายในเขตเมืองหรือชายขอบของเมือง จะต้องมีการกัลปนาด้วย ตามปกติแล้ววัดที่สร้าง ณ จุดใด พื้นที่โดยรอบวัด พระมหากษัตริย์จะอุทิศให้ แต่หากภายในเมืองที่สร้างวัดจนแน่น จะใช้วิธีการให้ที่ดินที่อยู่นอกตัวเมืองแท…
  continue reading
 
ในพื้นที่เอเชียอาคเนย์ หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในยุคที่ยังไม่มีการปักปันเขตแดน และยังคงเป็นกลุ่มชนชาติพันธุ์ต่าง ๆ รัฐอาณาจักรเขมร เป็นตัวอย่างที่เห็นได้เด่นชัดในการทำกัลปนา โดยพระมหากษัตริย์อาณาจักรเขมรในขณะนั้นนิยมสร้างเทวสถานขึ้น เมื่อสร้าแล้วจะมีการกัลปนา ทั้งที่ดินโดยรอบ สัตว์เลี้ยงต่าง ๆ และทาส เพื่อปฏิบัติรับใช้ภายในเทวสถานและทำไร่นาเพื่อ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 148 วันที่ 25 พฤษภาคม 2564 - ทัพเรือยุคราชวงศ์ทิวดอร์มีหลายเชื้อชาติ - เมืองพระนคร กัมพูชา คือหนึ่งในเมืองที่มีผู้อาศัยมากสุดในโลกยุคศตวรรษที่ 13 - พบซากฟอสซิลมนุษย์นีแอนเดอร์ธัลในถ้ำใกล้กรุงโรม - ทหารโรมันชั้นสูง ถูกส่งไปกู้ภัยแถบปอมเปอี ช่วงภูเขาไฟระเบิด - พบไดโนเสาร์มหัศจรรย์ ที่ตามล่าเหยื่อในความมืด…
  continue reading
 
การกัลปนา คือการทำมหาทานหรือการอุทิศที่พระมหากษัตริย์ เจ้าผู้ครองเมือง เจ้าขุนมูลนาย หรือผู้ที่มีทรัพย์ถวายแก่วัดหรือเทวสถาน เช่น ที่ดินโดยรอบหรือพื้นที่อื่น ๆ พืชพันธุ์ธัญญาหาร สัตว์เลี้ยง หรือแม้กระทั่งทาส ซึ่งกัลปนา เกิดขึ้นมาเป็นเวลาช้านานนับย้อนไปตั้งแต่สมัยอียิปต์ หรือดินแดนเมโสโปเตเมีย ในวัฒนธรรมอินเดียก็มีการทำกัลปนา เช่นกัน…
  continue reading
 
เป็นระยะเวลา 13 ปี กรณีพิพาทการเข้าปกครองกัมพูชาของสยามและเวียดนามในสมัยรัชกาลที่ 3 เกิดความสูญเสียอย่างมาก จึงมีการเจรจาตกลงแบ่งพื้นที่การปกครองกัมพูชาจึงยุติการทำสงคราม ต่อมาในรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 แม้เหตุการณ์นี้จะเกิดในในทวีปยุโรปแต่สยามเลือกอยู่ฝ่ายสัมพันธมิตร จนเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 147 วันที่ 11 พฤษภาคม 2564 - ซานซีพบ ‘จิตรกรรมฝาผนังหลุมศพ’ ล้ำค่า ยุคราชวงศ์เว่ยเหนือ - การค้นพบซาก “ปลาร้า” เฉียดหมื่นปีนับหมื่นตัวในสวีเดน บ่งชี้วิถียุคก่อนประวัติศาสตร์ - อียิปต์พบ ‘110 หลุมศพ’ สืบย้อน 3 อารยธรรมโบราณ - พบมัมมี่อียิปต์เป็นหญิงท้องแก่ มีซากทารก 7 เดือนในมดลูก ครั้งแรกของโลก - พบหลักฐานชี้ มนุษย์โบราณใช้ไ…
  continue reading
 
ธรรมเนียมปฏิบัติของเจ้าผู้ครองนครของรัฐต่าง ๆ อย่างหนึ่งคือ การแสดงแสนยานุภาพและอำนาจของผู้ครองนครนั้น ๆ ต่อเมืองอื่น ๆ โดยรอบ ซึ่งสยามกับพม่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีการทำศึกสงครามกันบ่อยครั้ง การเสียกรุงของอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาทั้ง 2 ครั้งมีความแตกต่างกัน โดยการเสียกรุงครั้งที่ 1 นั้น แนวคิดของพม่า ไม่ต้องการทำลายบ้านเมือง เพ…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 146 วันที่ 27 เมษายน 2564 - อียิปต์ค้นพบ “นครทองคำที่สาบสูญ” ใกล้หุบเขากษัตริย์ เก่าแก่กว่า 3,000 ปี - รักข้ามสายพันธุ์ “โฮโมเซเปียนส์-นีแอนเดอร์ทัล” - อียิปต์จัด "ขบวนเสด็จทองคำ" ย้ายมัมมี่ฟาโรห์ - ราชินี 22 พระองค์ เข้าพิพิธภัณฑ์แห่งใหม่โดย วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
  continue reading
 
กรุงสุโขทัย เกิดขึ้นได้จากอำนาจการปกครองของอาณาจักรเขมรเสื่อมลง ประกอบกับแนวคิดของการปกครองที่ผ่านไปหลายรุ่นทำให้เกิดการสร้างบ้านเมืองขึ้นมาใหม่ การทำสงครามในช่วงนี้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาจากบ้านเมืองที่อยู่โดยรอบ โดยเฉพาะเหตุการณ์สู้รบกับเจ้าเมืองฉอดที่ยกกองทัพล้อมเมืองตากไว้ ทำให้เจ้าเมืองตากต้องขอความช่วยเหลือจากกรุงสุโขทัย พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จึงย…
  continue reading
 
ข่าวโลกโบราณคดี ครั้งที่ 145 วันที่ 23 มีนาคม 2564 - ค้นพบรถม้าโรมันอายุ 2,000 ปี สภาพเกือบสมบูรณ์ที่ปอมเปอี - เปิดเมือง "อูร์" แหล่งกำเนิดศาสนาโลกที่โป๊ปฝ่าอันตรายไปเยือน - "คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก" อายุ 2,000 ปี ใช้วงแหวนประดับเพชรพลอยจำลองจักรวาลย่อส่วน - เผยโฉมหน้าใหม่บรรพบุรุษมนุษย์ "ลูซี่-เด็กเมืองตาอุง" ชี้ตรงตามหลักวิทยาศาสตร์มากที่สุด …
  continue reading
 
การทำสงครามของมนุษย์นั้นเริ่มมาตั้งแต่สมัยโบราณ จากการศึกษาค้นคว้าทางด้านประวัติศาสตร์พบว่า การทำสงครามในสมัยโบราณเป็นไปในลักษณะการแย่งชิงหรือครอบครองพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์รวมถึงกลุ่มคนในพื้นที่นั้น ๆ โดยมีปัจจัยมาจากการพัฒนาการของสังคมมนุษย์ เมื่อมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการอาหารและพื้นที่ที่อยู่อาศัยจึงมีความต้องการมากขึ้น จึงเป็นที่มาของการทำ…
  continue reading
 
Loading …

คู่มืออ้างอิงด่วน

ฟังรายการนี้ในขณะที่คุณสำรวจ
เล่น